Page 84 -
P. 84
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3.4 ด้านสัทวิทยา: การวิเคราะห์โครงสร้างการเน้นพยางค์
ในแผนภูมิโครงสร้างการเน้นพยางค์ ผู้วิจัยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
เหนือค่าเวลา (sec.) เป็นเรื่องโครงสร้างการเน้นพยางค์ โดยที่
= กลุ่มพยางค์, W = ค�า, P = วลีหรือวรรค, S = ประโยคในระบบเสียง
| = กิ่งหนัก แสดงการเน้นพยางค์ , \ หรือ / = กิ่งเบา แสดงการไม่เน้นพยางค์และพยางค์
ดังกล่าวจะเป็นองค์ประกอบของพยางค์เน้นตามทิศทางของเส้น
ใต้ค่าเวลา (sec.) แสดงเรื่องน�้าหนักพยางค์ โดยที่ | = พยางค์หนัก, - = พยางค์เบา
ในบทสวดที่น�ามาวิจัยนั้น มีทั้งส่วนที่เป็นร้อยกรองและร้อยแก้ว ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี้
3.4.1 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยกรอง
ท�านองมคธ
ในบทสวดร้อยกรองบทขันธปริตรนี้ 1 บทจะมี 4 วรรค วรรคละ 8 พยางค์ โดยคณะสงฆ์ที่สวด
ท�านองมคธจะสวดวรรคซ้ายและวรรคขวาแต่ละบรรทัดก่อนจะหยุด 1 ครั้งถึงจะสวดในวรรคต่อไป ส่วน
คณะสงฆ์ที่สวดในท�านองสังโยค จะสวดติดต่อกันไปทุกวรรคไม่มีหยุดเว้นวรรค จากตัวอย่างข้างล่าง คือ
วรรคที่ 3 – 4 ของบทที่ 2 มีโครงสร้างการเน้นพยางค์ ดังนี้
S
/ |
P P
| \ |
W W W
| / / / | / / / / |
| \ / | / | | | | | / | / | / |
พยางค์ [[จะ ตุป* ปะ เด หิ เม เมต ตัง] [เมต ตัง บะ หุป ปะ เด หิ เม] ] หยุด
P
P S
เวลา(sec.) |0.60|0.30|0.31|0.42|0.25|0.35|0.43|0.51|0.42|0.39|0.22|0.28|0.22|0.32|0.23|0.72|
น�้าหนักพยางค์ - | - | - | | | | | - | - | - |
ภาพที่ 7 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยกรองท�านองมคธ ตามการสวดจริง
76 วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554