Page 85 -
P. 85

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์





                       P(2)                          W(3)                             S(1)

                       |                             |                                |
              พยางค์  [[จะ  ตุป  ปะ  เด  หิ  เม  เมต ตัง] [เมต ตัง  บะ  หุป  ปะ  เด  หิ  เม] ]   หยุด
                                                                                        P S
                                                        P
              เวลา(sec.) |0.60|0.30|0.31|0.42|0.25|0.35|0.43|0.51|0.42|0.39|0.22|0.28|0.22|0.32|0.23|0.72|  0.69|

                     ภาพที่ 8 โครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยกรองท�านองมคธ เฉพาะพยางค์เน้นส�าคัญ

                       การวิเคราะห์โครงสร้างการเน้นพยางค์จากค่าเวลาในการสวดจริงสามารถพิจารณาร่วมกับน�้า

              หนักพยางค์ได้ โดยพยางค์หนักคือ พยางค์ในโครงสร้าง cvv เช่น “เม”, cvc เช่น “หุป”, cvvc เช่น “เมต”
              ส่วนพยางค์เบาคือ พยางค์ในโครงสร้าง cv เช่น “ปะ”) จากภาพที่ 7 พบว่า การเน้นพยางค์สอดคล้อง

              กับน�้าหนักพยางค์ โดยค�าครุ ซึ่งตรงกับโครงสร้าง cvv cvc cvvc จัดเป็นพยางค์เน้น อยู่ใต้เส้นตรง (|)
              เหนือค่าเวลา และค�าลหุ ซึ่งตรงกับโครงสร้าง cv จัดเป็นพยางค์ไม่เน้น อยู่ใต้เส้นเฉียง ซึ่งพยางค์ไม่เน้น

              ทุกตัวจะเป็นองค์ประกอบของพยางค์เน้นทางขวา แต่กลับพบความไม่สอดคล้องอยู่จุดหนึ่งคือ มีการสลับ
              การเน้นพยางค์ (metathesis) ในพยางค์แรก สังเกตจากที่ขีดเส้นใต้ โดยพยางค์แรกคือ “จะ” จากที่ควร

              จะเป็นพยางค์ไม่เน้น และเป็นองค์ประกอบของพยางค์เน้นทางขวา ได้กลายเป็นพยางค์เน้น ส่วนการเน้น
              พยางค์ในระดับสูงขึ้นไปนั้น พบว่าในวรรคต่างๆ ไม่ว่าครุหรือลหุ หากอยู่ในต�าแหน่งซ้ายสุดของวรรค (ที่มี

              การสลับพยางค์) จะท�าให้กลายเป็นพยางค์เน้นระดับ 2 หากอยู่ต�าแหน่งขวาสุด (หลังสุด) ของวรรคแรกจะ
              เป็นพยางค์เน้นระดับ 3 และต�าแหน่งขวาสุด (หลังสุด) ของวรรคหลังจะเป็นพยางค์เน้นระดับ 1 แสดงว่า

              ในต�าแหน่งดังกล่าว จะเน้นพยางค์โดยอาศัยต�าแหน่งมากกว่าอาศัยน�้าหนักพยางค์ สังเกตได้จากภาพที่ 8

                       ท�านองสังโยค

                                                                          
                       / |  /     |  /     |  |  |  |       |  /  |  /  |  /  |

              พยางค์    [[จะ  ตุป  ปะ  เท  หิ  เม  เมต ตัง] [เมต ตัง  พะ  หุป  ปะ  เท  หิ  เม] ]
                                                                                         P S
                                                         P
              เวลา(sec.)  |0.31|0.54|0.33|0.57|0.30|0.62|0.59|0.58|0.55|0.58|0.34|0.52|0.33|0.56|0.29|0.61|
              น�้าหนักพยางค์  -  |  -  |  -  |  |  |       |  |  -  |  -  |  -  |

                      ภาพที่ 9 แสดงโครงสร้างการเน้นพยางค์ในบทร้อยกรองท�านองสังโยคตามการสวดจริง

                       จากภาพที่ 9 พบว่า จากค่าเวลาจริง ค�าครุจัดเป็นพยางค์เน้น และค�าลหุจัดเป็นพยางค์ไม่เน้น

              ตรงตามน�้าหนักพยางค์ แต่เนื่องจากความยาวนานของเสียงในค�าครุทุกโครงสร้างใกล้เคียงกันมาก จนไม่
              สามารถจัดพยางค์เน้นใดๆ ให้สูงขึ้นกว่าระดับกลุ่มพยางค์ได้ ท�าให้สามารถจัดพยางค์เน้นได้ระดับเดียว

              คือ ระดับกลุ่มพยางค์ ()





                                                          วารสารมนุษยศาสตร์  ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554  77
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90