Page 97 -
P. 97
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รองลงมาคือการเก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกําและกระสอบอาหารสัตว์ใหมํมีปริมาณ 2AP เทํากับ 0.226 µg/g และ
0.221 µg/g
จากผลการศึกษาจะเห็นได๎วําการเก็บรักษาข๎าวในกระสอบน้ าตาลเกําจะท าให๎ข๎าวมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูง
(70.18%) มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดหักต่ า (25.89%) และมีปริมาณ 2AP (0.244 µg/g) สูงที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีการเก็บข๎าว
แบบอื่นๆ การเก็บข๎าวแบบเทกองและเก็บในถุงตาขํายมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงแตํมีปริมาณ 2AP ต่ า ในขณะที่การเก็บ
ข๎าวในกระสอบปุ๋ยแบบเคลือบใหมํและกระสอบอาหารสัตว์ใหมํให๎เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ า เมล็ดหักสูง และมีปริมาณ
2AP ต่ า (ตารางที่ 7.2) ทั้งนี้เป็นผลมาจากการเก็บข๎าวด๎วยวิธีดังกลําวท าให๎มีความชื้นข๎าวเปลือกสูงกวําวิธีการอื่นๆ
(ภาพที่ 6.1) ซึ่งในแตํละครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในข๎าว บริเวณผิวด๎านนอกของข๎าวจะพยายามปรับสมดุลย์
ความชื้นให๎เทํากับสภาพแวดล๎อมรอบข๎างอยํางรวดเร็ว ในขณะที่ความชื้นภายในบริเวณกลางเมล็ด (endosperm)
จะคํอยๆ เปลี่ยนแปลงอยํางช๎าๆ ซึ่งความแตกตํางระหวํางความชื้นที่เกิดขึ้นเป็นสาเหตุที่ท าให๎เมล็ดเกิดการแตกหัก
(cracking) สํงผลท าให๎เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวลดลง (Prakash and Pan, 2011)
เมื่อเก็บรักษาข๎าวเป็นระยะเวลานานขึ้น จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความชื้นในกองข๎าว ในชํวง
ท๎ายของการเก็บรักษาคําความชื้นข๎าวเปลือกมีคําสูงขึ้น เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวลดต่ าลง เปอร์เซ็นต์เมล็ดหักเพิ่มสูงขึ้น
และปริมาณสาร 2AP ลดต่ าลง สอดคล๎องกับรายงานของ กฤษณา และคณะ (2558) ที่พบวําปริมาณสารหอม 2-
acetyl-1-pyrroline จะลดลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา โดยลดลงมากหลังเก็บรักษานาน 5 เดือน เนื่องจากสาร
2AP เป็นสารที่ระเหยได๎งํายโดยเฉพาะการเก็บรักษาข๎าวในสภาพที่มีอุณหภูมิสูง การเก็บรักษาข๎าวที่อุณหภูมิต่ า จะ
สามารถรักษาความหอมได๎ดีกวําการเก็บที่อุณหภูมิสูง นอกจากนี้ยังพบปฏิสัมพันธ์ระหวํางภาชนะบรรจุข๎าวเปลือก
กับอุณหภูมิในการเก็บรักษาตํอปริมาณสาร 2AP ด๎วย (Kongkiattikajorn, 2008; Maneenuam, 2014)
สํวนลักษณะท๎องไขํคํอนข๎างมีความแปรปรวนในแตํละเดือนโดยการเก็บรักษาที่ 3 เดือน ข๎าวมีเปอร์เซ็นต์
ท๎องไขํสูงที่สุดเทํากับ 2.35% (ตารางที่ 7.2) อุณหภูมิและความชื้นในกองที่เปลี่ยนแปลงไปในแตํละเดือนแสดงให๎
เห็นวําอุณหภูมิและความชื้นบริเวณรอบเมล็ดข๎าวมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซึ่งปัจจัยเหลํานี้ล๎วนสํงผลโดยตรงตํอ
คุณภาพของข๎าวเป็นผลท าให๎ข๎าวที่เก็บรักษายาวนานขึ้นมีคุณภาพลดต่ าลง
ปฏิสัมพันธ์ระหวํางชนิดข๎าวกับวิธีการเก็บข๎าว จะเห็นได๎วําวิธีการเก็บข๎าวไมํท าให๎อุณหภูมิในกองข๎าวทั้ง
ข๎าวทั่วไปและข๎าวอินทรีย์ตํางกัน ข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบปุ๋ยเคลือบใหมํ กระสอบอาหารสัตว์ใหมํ และข๎าว
อินทรีย์ที่เก็บในกระสอบอาหารสัตว์ใหมํ มีคําความชื้นในกองข๎าวสูงเทํากับ 10.63% 10.57% และ 10.54%
ตามล าดับ และยังพบวําข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบปุ๋ยเคลือบใหมํและกระสอบอาหารสัตว์ใหมํมีเปอร์เซ็นต์ความชื้น
ข๎าวเปลือกสูงที่สุด (14.08% และ 13.91%) (ภาพที่ 7.3)
ข๎าวอินทรีย์ที่เก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกํา และกระสอบน้ าตาลเกํา มีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูง (73.54%
และ 73.26% ตามล าดับ) เปอร์เซ็นต์เมล็ดหักต่ า (21.53% และ 22.38% ตามล าดับ) และมีปริมาณ 2AP สูงที่สุด
(0.278 และ 0.299 µg/g ตามล าดับ) ข๎าวอินทรีย์ที่เก็บในถุงตาขํายมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูง (74.92%) เปอร์เซ็นต์
เมล็ดหักต่ าแตํมีปริมาณ 2AP ไมํสูงมาก (0.219 µg/g) สํวนวิธีการเก็บข๎าวทั่วไปในกระสอบเคลือบใหมํจะท าให๎มี
เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ า เปอร์เซ็นต์เมล็ดหักสูง และปริมาณ 2AP ต่ าเมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บด๎วยวีธีอื่นๆ ทั้งนี้เป็น
ผลมาจากการเก็บวิธีการดังกลําวมีคําเปอร์เซ็นต์ความชื้นในกองข๎าวสูงที่สุด (ภาพที่ 7.1)
ปฏิสัมพันธ์ระหวํางชนิดข๎าวกับระยะเวลาการเก็บรักษาคํอนข๎างมีความแปรปรวนของข๎อมูลในแตํละ
เดือน จากข๎อมูลในตารางที่ 7.4 คําอุณหภูมิ ความชื้นในกองข๎าว ความชื้นข๎าวเปลือก และคําเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํมีการ
เปลี่ยนแปลงแตกตํางกันในแตํละชนิดข๎าวและชํวงเวลาการเก็บรักษาตําง ๆ เห็นได๎วําในชํวงท๎ายของการเก็บรักษา
คําเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวและเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักมีคําเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้การเก็บรักษาในเดือนที่ 1 มีคําเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ า
และเปอร์เซ็นต์เมล็ดหักสูงเมื่อเทียบกับเดือนอื่นๆ นอกจากนี้ยังเห็นวําลักษณะเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํและเปอร์เซ็นต์เมล็ด
หักมีความแปรปรวนของข๎อมูลคํอนข๎างสูงสาเหตุหนึ่งอาจเนื่องมาจากลักษณะดังกลําวเป็นลักษณะที่ต๎องใช๎สายตา
ในการประเมินซึ่งต๎องอาศัยทักษะและความช านาญสูง สํวนเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวในเดือนแรกที่มีคําต่ ากวําเดือนอื่นๆ
เป็นผลมาจากในเดือนแรกของการประเมินเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวใช๎สายตาในการประเมิน ในเดือนตํอมาจึงมีการจัดหา
เครื่องวัดเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวมาใช๎งาน และอีกสาเหตุอาจเนื่องมาจากตัวอยํางข๎าวที่น ามาทดลองในครั้งนี้แม๎จะมาจาก
แปลงนาแปลงเดียวแตํเกษตรกรจะมีการกั้นเป็นแปลงยํอย (กระทงนา) เพื่อจัดการแปลงและท าเขตกรรมได๎สะดวก
ขึ้น เป็นสาเหตุท าให๎สภาพแวดล๎อมในแตํละแปลงยํอยตํางกันทั้งในเรื่องความแปรปรวนของดินในแตํละแปลงยํอย
69