Page 95 -
P. 95
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 7
อิทธิพลของรูปแบบการจัดเก็บต่อคุณภาพข้าวของเกษตรกร: ผลการศึกษาจากการวิจัยเชิงทดลอง
บทน า
รูปแบบการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรแตกตํางกันไปตามภูมิภาค ข๎อจ ากัดของทรัพยากรท๎องถิ่น
และฐานะทางเศรษฐกิจของแตํละครัวเรือน รวมทั้งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท๎องถิ่นที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึ่ง
สถานที่ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรมีทั้งจัดเก็บในยุ๎งไม๎หรือยุ๎งสังกะสี จัดเก็บในบ๎านหรือพื้นที่ตํอเติม
รอบบ๎าน รูปแบบการจัดเก็บมีทั้งเทกองและบรรจุในกระสอบปุ๋ยเคลือบและไมํเคลือบ กระสอบอาหารสัตว์ กระสอบ
น้ าตาล หรือกระสอบป่าน ซึ่งรูปแบบการจัดเก็บที่แตกตํางกันจะสํงผลให๎การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่
จัดเก็บแตกตํางกัน ดังนั้นในบทนี้จึงเป็นการน าเสนอผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวที่มีรูปแบบการ
จัดเก็บแตกตํางกัน ตามสถานที่จัดเก็บข๎าวของเกษตรกรสํวนใหญํ ได๎แกํ การเก็บข๎าวในยุ๎งไม๎ ยุ๎งสังกะสี และการเก็บ
ในบ๎าน โดยใช๎การวิจัยเชิงทดลอง เพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมส าหรับสถานที่จัดเก็บข๎าวแตํ
ละประเภท และเป็นแนวทางการปฏิบัติส าหรับเกษตกรและผู๎ที่เกี่ยวข๎องตํอไป
คุณภาพข้าวของการจัดเก็บข้าวในสถานที่เก็บที่แตกต่างกัน
1. การเก็บข้าวในยุ้งไม้ ด๎วยวิธีเก็บรักษาข๎าว 8 รูปแบบ ในข๎าว 2 ชนิด ที่ระยะเวลานาน 6 เดือน
การเก็บข๎าวในยุ๎งไม๎สํงตํอทุกลักษณะที่บันทึกอยํางมีนัยส าคัญ ยกเว๎นปฏิสัมพันธ์ระหวํางชนิดข๎าวกับ
วิธีการรักษาของอุณหภูมิในกองข๎าว และปฏิสัมพันธ์ระหวํางชนิดข๎าวรํวมกับวิธีการเก็บและระยะเวลาในการเก็บ
ของลักษณะความชื้นข๎าวเปลือก (ตารางที่ 7.1)
ตารางที่ 7.1 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติการเก็บข๎าวในยุ๎งไม๎ ด๎วยวิธีการเก็บรักษาข๎าว 8 รูปแบบ ใน
ข๎าว 2 ชนิด ที่ระยะเวลานาน 6 เดือน
Source DF 1/ ในกองข้าว ความชื้น เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ
อุณหภูมิ ความชื้น ข้าวเปลือก ต้นข้าว ท้องไข่ เมล็ดหัก 2AP
REP 2 (2) 0.12 0.02 0.02 5.29 0.19 5.91 0.0017
Rice (R) 1 (1) 5.56 ** 0.81 ** 6.17 ** 4078.25 ** 238.51 ** 4780.71 ** 0.2327 **
Storage (S) 7 (7) 4.82 ** 0.73 ** 5.33 ** 60.07 ** 2.33 ** 70.93 ** 0.0142 **
Time (T) 5 (4) 198.96 ** 20.54 ** 8.53 ** 731.26 ** 5.64 ** 1051.66 ** 0.4566 **
R*S 7 (7) 0.83 ns 0.12 ** 0.79 ** 33.62 ** 1.05 ** 38.78 ** 0.0077 **
R*T 5 (4) 4.63 ** 0.08 * 0.39 ** 42.50 ** 2.18 ** 67.48 ** 0.0811 **
S*T 35 (28) 2.46 ** 0.33 ** 0.41 ** 48.63 ** 0.73 ** 52.73 ** 0.0234 **
R*S*T 35 (28) 0.86 * 0.13 ** 0.14 ns 43.37 ** 0.74 ** 48.17 ** 0.0192 **
Error 190 (158) 0.57 0.04 0.09 10.75 0.16 7.92 0.0010
Total 287 (239)
CV (%) 2.41 1.82 2.33 4.78 21.15 10.19 15.420
1/
หมายเหตุ: ตัวเลขของ degree of freedoms (df) ที่อยูํในวงเล็บ คือ df ของปริมาณ 2AP
ns ไมํแตกตํางอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ, * และ ** แตกตํางอยํางมีนัยส าคัญที่ระดับความเชื่อมั่นที่ p≤0.05 และ p≤0.01 ตามล าดับ
เมื่อพิจารณาที่ชนิดข๎าวพบวําข๎าวอินทรีย์มีคําความชื้นข๎าวเปลือกต่ า (13%) เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูง
(72.35%) เปอร์เซ็นต์เมล็ดหักต่ า (23.55%) และปริมาณ 2AP (0.239 µg/g) สูงกวําข๎าวทั่วไป (ตารางที่ 7.2) ทั้งนี้
เป็นผลมาจากลักษณะทางคุณภาพและปริมาณ 2AP ในข๎าวเป็นลักษณะที่ผันแปรตามสภาพแวดล๎อมได๎งําย การ
จัดการพืชตั้งแตํเขตกรรมจนถึงกระบวนการหลังเก็บเกี่ยวล๎วนสํงผลโดยตรงตํอลักษณะดังกลําว (Bao, 2018) โดย
ข๎าวอินทรีย์เป็นการปลูกข๎าวแบบปราณีต เกษตรกรมีการดูแลจัดการการเขตกรรม ปริมาณและแหลํงธาตุอาหารที่ให๎