Page 91 -
P. 91

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       ตารางที่ 6.11 (ตํอ)
                             สภาพแวดล้อมของยุ้งฉาง                  การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าว (%)
                                                         ความชื้น    ต้นข้าว   ข้าวหัก    ท้องไข่   2AP
                       ความถี่ในการใช๎ยุ๎งฉาง
                       0-2 สัปดาห์                         -1.46     -12.26     8.30      0.44      -0.12
                       1-2 เดือน                           -1.97     -15.27     7.05      1.44      -0.12
                       มากกวําสองเดือน                     -2.10     -13.22     6.34      0.84      -0.14
                       P-Value                             0.84       0.74      0.66      0.48      0.74
                       หมายเหตุ:  *p<0.10; **p<0.05 และ ***p<0.01
                       ที่มา: จากการสุํมตัวอยํางข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาและการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวในห๎องปฏิบัติการ


                              ลักษณะทางกายภาพของยุ้งฉางกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าว
                              ตารางที่ 6.12 แสดงคุณภาพข๎าวจ าแนกจากลักษณะทางกายภาพของยุ๎งฉาง ได๎แกํ ความสูงของยุ๎งฉาง
                       และวัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉางหรือสถานที่เก็บ ผลการศึกษาพบวําการเปลี่ยนคุณภาพข๎าวหอมมะลิไมํแตกตํางกันตามความ
                       สูงของยุ๎งฉาง แตํวัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉางและการยกพื้นยุ๎งฉางท าให๎ความชื้นในเมล็ดข๎าวหอมมะลิแตกตํางกัน โดยที่วัสดุ
                       ใต๎ฐานยุ๎งฉางที่เป็นพื้นดินมีแนวโน๎มที่ความชื้นข๎าวหอมมะลิหลังการจัดเก็บ (-0.61%) ลดลงมากกวําวัสดุใต๎ฐานที่
                       เป็นพื้นปูนหรือพื้นหิน (-0.29%)  หรือสถานที่เก็บข๎าวที่ไมํได๎ยกพื้น (-0.36%)


                       ตารางที่ 6.12 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวหอมมะลิ จ าแนกตามลักษณะทางกายภาพของยุ๎งฉาง
                           ลักษณะทางกายภาพยุ้งฉาง                  การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าว (%)
                                                        ความชื้น     ต้นข้าว    ข้าวหัก   ท้องไข่   2AP
                       ความสูงของยุ้งฉางจากพื้น
                       น๎อยกวํา 1 เมตร                       -2.07      -7.77       7.48      1.96    -0.11
                       น๎อยกวํา 1-2 เมตร                     -1.50      -6.80       5.60      0.94    -0.13
                       มากกวํา 2 เมตร                        -2.17      -8.74       7.00      0.96    -0.12
                       P-Value                                0.51       0.31       0.35      0.17    0.51
                       วัสดุใต้ฐานยุ้งฉาง/สถานที่เก็บ
                       ไมํมี/ไมํได๎ยกพื้น                -0.36       -6.98       5.93      1.09     -0.11
                       พื้นดิน                           -0.61       -8.32       7.18      1.34     -0.12
                       พื้นปูน/หิน                       -0.29       -6.31       6.14      1.10     -0.17
                       P-Value                           0.10*        0.33       0.53      0.92     0.12
                       หมายเหตุ: *p<0.10; **p<0.05 และ ***p<0.01
                       ที่มา: จากการสุํมตัวอยํางข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาและการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวในห๎องปฏิบัติการ


                              รูปแบบการจัดเก็บข้าวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าว

                              รูปแบบการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรตัวอยํางในพื้นที่ศึกษาแตกตํางกันตามภูมิภาคและรูปแบบการผลิต
                       ซึ่งเมื่อจ าแนกการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวหอมมะลิพบวํา ความชื้นของข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บโดยรองพื้นยุ๎งฉาง
                       ความชื้นมีแนวโน๎มลดลงมากกวําเกษตรกรที่จัดเก็บโดยไมํรองพื้น และการเปลี่ยนแปลงความชื้นยังแตกตํางกันตาม
                       รูปแบบการจัดเก็บ คือ เกษตรกรที่เก็บข๎าวแบบเทกองและใสํกระสอบป่านมีแนวโน๎มที่ความชื้นข๎าวจะลดลงมากกวํา
                       การจัดเก็บข๎าวโดยการใสํกระสอบปุ๋ย กระสอบอาหารสัตว์หรือกระสอบน้ าตาล ในขณะที่เกษตรกรที่จัดเก็บข๎าวโดย
                       ใช๎กระสอบป่านมีแนวโน๎มที่คุณภาพข๎าวจะดีกวําเกษตรกรที่จัดเก็บด๎วยวิธีการอื่น กลําวคือมีเปอร์เซ็นต์การเพิ่มขึ้น
                       ของข๎าวหักต่ าที่สุดเทํากับ 2.47% ท๎องไขํเพิ่มขึ้นเพียง 0.67% และความหอมของข๎าวหรือสาร 2AP  ลดลงเพียง
                       0.05 µg/g และลดลงน๎อยกวําการจัดเก็บด๎วยวิธีอื่น อยํางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพข๎าวหอมมะลิตามสถานที่
                       จัดเก็บข๎าว พบวํา คุณภาพข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บในบ๎าน ในยุ๎งฉางทั้งบริเวณรั้วบ๎านและยุ๎งฉางนอกรั้วบ๎าน ไมํ
                                                                                                        63
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96