Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าวหอมมะลิของเกษตรกรภายหลังการจัดเก็บ

                              การเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวของเกษตรกรในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด๎วยคุณภาพที่ส าคัญ 4 ด๎าน ได๎แกํ
                       เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ข๎าวหัก เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความหอมของข๎าวหอมมะลิ โดยวัดจากเปอร์เซ็นต์การ
                       เปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวทั้ง 4  ด๎านกํอนจัดเก็บและหลังจัดเก็บข๎าว ซึ่งสุํมตัวอยํางข๎าวจากยุ๎งฉางหรือสถานที่เก็บ
                       ของเกษตรกรตัวอยําง 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 ชํวงระหวํางการจัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉางประมาณ 1เดือนหลังจากเก็บเกี่ยว
                       โดยเก็บตัวอยํางข๎าวชํวงเดือนมกราคม 2561 และครั้งที่ 2 หลังจากการจัดเก็บข๎าวครั้งที่ 1 ประมาณ 3 เดือน คือ
                       ชํวงปลายเดือนเมษายนถึงต๎นเดือนพฤษภาคม 2561
                              คุณภาพข้าวหอมมะลิตามตามสภาพแวดล้อมการผลิต

                              ผลการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวหอมมะลิตามสภาพแวดล๎อมการผลิต พบวํา เกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ใน
                       พื้นที่นาน้ าฝนมีแนวโน๎มที่ผลผลิตข๎าวที่จัดเก็บมีคุณภาพดีที่สุด คือมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงที่สุดประมาณ 71.67%
                       และมีเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักน๎อยที่สุดเฉลี่ยเพียง 26.11% สอดคล๎องกับผลการศึกษาจากงานวิจัยเชิงทดลองในบทที่ 7
                       ซึ่งสาเหตุหลักนําจะมาจากการที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ ให๎ความส าคัญในชํวงกระบวนการตากข๎าวเพราะต๎อง
                       สํงข๎าวขายให๎กับกลุํมจึงต๎องตากข๎าวให๎ได๎ความชื้นเหมาะสมตามที่กลุํมก าหนด นอกจากนั้นเกษตรกรกลุํมนี้ยังได๎รับ
                       การถํายทอดความรู๎วิชาการเกี่ยวกับชํวงเวลาการเก็บเกี่ยวข๎าวที่เหมาะสมซึ่งเชื่อมโยงกับการเกิดท๎องไขํในข๎าวหอม
                       มะลิ การเก็บเกี่ยวกํอนชํวงเวลาสุกแกํของข๎าว สํงผลให๎เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํสูงซึ่งท าให๎โอกาสการเกิดข๎าวหักสูงตามมา
                       ด๎วยเชํนกัน คือข๎าวจะหักบริเวณท๎องไขํท าให๎เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวลดลงและมีเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักมากขึ้น ดังนั้นผล
                       การศึกษาแสดงให๎เห็นวําคุณภาพข๎าวกํอนจัดเก็บในยุ๎งฉางของเกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิอินทรีย์จะมีสูงกวํา
                       เกษตรกรกลุํมอื่น  ในขณะที่เมื่อวัดความชื้นของข๎าวหอมมะลิหลังจัดเก็บในยุ๎งฉางผํานไป 3  เดือนพบวําความชื้น
                       เฉลี่ยของข๎าวหอมมะลิลดลงประมาณ 0.88%  จากความชื้นเฉลี่ยประมาณ 13.59% เหลือประมาณ 12.71% ซึ่ง
                       ความชื้นของข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรในทุกๆ พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงไมํแตกตํางกันมากนัก ส าหรับคุณภาพข๎าว
                       ด๎านความหอม ผลการวิเคราะห์ปริมาณ 2AP ของข๎าวพบวําปริมาณ 2AP ของข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝน
                       มีแนวโน๎มสูงกวําการปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไปและการปลูกข๎าวหอมมะลิในพื้นที่ชลประทาน อยํางไรก็ตามภายหลัง
                       จัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉาง การวัดปริมาณ 2AP ของข๎าวตามสภาพแวดล๎อมและรูปแบบการผลิตพบวําปริมาณ 2AP ข๎าว
                       หอมมะลิในแตํละพื้นที่ไมํแตกตํางกัน (ตารางที่ 6.8) เนื่องจากปริมาณ 2AP จะลดลงตามระยะเวลาการจัดเก็บและ
                       ลดลงอยํางมากตั้งแตํการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในเดือนที่ 2


                       ตารางที่ 6.8  คุณภาพข๎าวหอมมะลิและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวของเกษตรกรตัวอยําง จ าแนกตาม
                                 สภาพแวดล๎อมการผลิตและวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าว
                                                  สภาพแวดล้อมการผลิต         วัตถุประสงค์การเก็บข้าว
                             คุณภาพข้าว          นาน้ าฝน      ชลประทาน       ไม่เก็บ     เก็บไว้    รวม
                                              ทั่วไป  อินทรีย์   ข้าวทั่วไป   ไว้ขาย       ขาย
                       ความชื้น (%)
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 1   13.55   13.72    13.44        13.66        13.50  13.59
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 2   12.62   12.76    12.90        13.02        12.36  12.71
                       % การเปลี่ยนแปลง        -0.93    -0.96        -0.54        -0.64       -1.14  -0.88
                       เปอร์เซ็นต์ต้นข้าว
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 1   68.89   71.67    63.51        69.15        68.76  68.96
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 2   60.66   64.12    55.29        61.17        60.76  60.98
                       % การเปลี่ยนแปลง        -8.23    -7.55        -8.22        -7.98       -8.00  -7.99
                       เปอร์เซ็นต์ข้าวหัก
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 1   29.52   26.11    31.70        27.62        29.61  28.58
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 2   36.08   32.92    40.33        34.55        36.54  35.51
                       % การเปลี่ยนแปลง         6.56     6.80        8.63         6.93         6.93   6.93



                                                                                                        59
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92