Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ตารางที่ 6.9  (ตํอ)
                           คุณภาพข้าว                  แบ่งตามภูมิภาค             แบ่งตามขนาดพื้นที่เพาะปลูก
                                           อีสานเหนือ   อีสานกลาง      อีสานใต้    เล็ก    กลาง     ใหญ่
                       2AP
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 1   0.29    0.25         0.26       0.27    0.26     0.24
                       การสุํมตัวอยํางครั้งที่ 2   0.16    0.15         0.14       0.15    0.14     0.14
                       % การเปลี่ยนแปลง      -0.14        -0.10         -0.12     -0.12    -0.12    -0.10
                       ที่มา: จากการสุํมตัวอยํางข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาและการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวในห๎องปฏิบัติการ


                              ผลการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวตามขนาดพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกรพบวําเกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูก
                       ขนาดใหญํคือมีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30  ไรํขึ้นไป มีแนวโน๎มที่ผลผลิตข๎าวจะมีที่มีคุณภาพต่ ากวํา
                       เกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูกขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยเกษตรกรที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวขนาดใหญํ ผลิตข๎าวหอม
                       มะลิที่มีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ าที่สุดและเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักสูงที่สุดประมาณ 64.82% และ 34.58% ตามล าดับ ผลการ
                       วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ความชื้นของข๎าวหอมมะลิกํอนและหลังจัดเก็บในยุ๎งฉางและสถานที่เก็บพบวําความชื้นของข๎าว
                       หอมมะลิกํอนจัดเก็บทุกขนาดพื้นที่ไมํแตกตํางกันมากนักเฉลี่ยประมาณ 13.34-13.83% ในขณะที่ความชื้นหลังการ
                       จัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉางเป็นระยะเวลา 3 เดือนหลังจากสุํมตัวอยํางข๎าวครั้งแรก พบวํา ความชื้นหลังการจัดเก็บข๎าว
                       ลดลงประมาณ 0.73-0.98% ซึ่งเกษตรกรในทุกๆ พื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงความชื้นของข๎าวไมํแตกตํางกันมากนัก
                       (ตารางที่ 6.9)


                       อิทธิพลของรูปแบบการจัดเก็บข้าวต่อคุณภาพข้าวของเกษตกร
                              คุณภาพข๎าวหอมมะลิส าหรับมาตรฐานการซื้อขายข๎าวไทยประกอบด๎วย เปอร์เซ็นต์ความชื้น เปอร์เซ็นต์
                       ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ข๎าวหัก และเปอร์เซ็นท๎องไขํ ซึ่งคุณภาพข๎าวทั้ง 4 ด๎านมีการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กัน โดย
                       ความชื้นข๎าวที่เหมาะสมส าหรับการสีควรจะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นในเมล็ด 14% หากความชื้นในเมล็ดข๎าวสูงกวํา
                       14% เมล็ดข๎าวจะนุํมเกินกวําจะต๎านทานแรงเสียดทานจากการสีได๎ท าให๎ข๎าวแตกและหักมากขึ้น ในขณะที่การสีข๎าว
                       ที่มีความชื้นต่ ากวํา 14% จะท าให๎ข๎าวเปราะและมีการแตกหักมากขึ้นเชํนกัน (Kumar et al., 2018) ความชื้นจึงมี
                       ความสัมพันธ์กับคุณภาพข๎าวทั้ง เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ข๎าวหักและเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ โดยตารางที่ 6.10
                       แสดงคําสหสัมพันธ์ของคุณภาพข๎าวส าหรับการซื้อขายทั้ง 4 ด๎าน พบวําเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ข๎าวหัก และ
                       เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํมีสหสัมพันธ์กันในระดับสูง เห็นได๎จากผลการวัดคุณภาพข๎าวทั้งในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และการ
                       เปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าว ในขณะที่คําสหสัมพันธ์ระหวํางความชื้นกับคุณภาพข๎าวด๎านอื่นๆ ในการวัดความชื้นข๎าว
                       ครั้งที่ 2 มีความสัมพันธ์กัน แตํการเปลี่ยนแปลงความชื้นข๎าวไมํมีสหสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวในด๎าน
                       อื่นๆ สาเหตุส าคัญนําจะมาจากข๎าวหอมมะลิที่เกษตรกรน ามาจัดเก็บในยุ๎งฉางมีความชื้นประมาณ 13-14% ลดลง
                       เฉลี่ยประมาณ 0.54-0.96% เทํานั้น ซึ่งความชื้นที่ไมํลดลงมากนักเพราะความชื้นของข๎าวที่จัดเก็บอยูํในระดับที่น้ า
                       ไมํสามารถระเหยออกได๎มากกวํานี้แล๎ว




















                                                                                                        61
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94