Page 93 -
P. 93
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความสัมพันธ์อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 และ 99% ตามล าดับ โดยมีการเปลี่ยนแปลงใน
ทิศทางเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ ยุ๎งฉางที่รั่วซึมมากกวํามีความนําจะเป็นที่เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํจะ
เพิ่มขึ้น และการจัดเก็บข๎าวในกระสอบน้ าตาลมีความนําจะเป็นที่จะเกิดข๎าวท๎องไขํได๎มากกวําการจัดเก็บข๎าวแบบ
เก็บกอง ในขณะที่ปัจจัยอื่นๆ ไมํมีความสัมพันธ์กับการเกิดข๎าวท๎องไขํอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ (ตารางที่ 6.14)
ตารางที่ 6.14 ผลการประมาณคําความสัมพันธ์ของรูปแบบการจัดเก็บข๎าวกับการเปลี่ยนแปลงเปอร์เซ็นต์เมล็ดข๎าว
ท๎องไขํ
ตัวแปรตาม=เปอร์เซ็นต์การเกิดเมล็ดข๎าวท๎องไขํ Coef. Std. Err. t P>t
การรั่วซึม 1.565** 0.717 2.18 0.031
การบังแดด -0.294 0.513 -0.57 0.568
ผนังไม๎ 0.366 1.916 0.19 0.849
ผนังปูน -1.420 1.903 -0.75 0.457
เก็บในพื้นที่ตํอเติม 0.071 0.808 0.09 0.930
เก็บในยุ๎งฉางในรั้วบ๎าน 0.362 0.521 0.7 0.489
เก็บในยุ๎งฉางนอกบริเวณบ๎าน -0.549 0.876 -0.63 0.533
ความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉาง 0.052 0.183 0.28 0.777
เก็บในกระสอบปุ๋ย -0.025 0.611 -0.04 0.968
เก็บในถุงอาหารสัตว์ -0.035 0.819 -0.04 0.966
เก็บในกระสอบป่าน -0.622 1.916 -0.32 0.746
เก็บในกระสอบน้ าตาล 3.886*** 0.957 4.06 0.000
คําคงที่ 0.990 1.048 0.95 0.347
หมายเหตุ: *p<0.10; **p<0.05 และ ***p<0.01
ที่มา: จากการค านวณ
สรุป
หลังจากเกษตรกรเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิโดยใช๎รถเกี่ยวนวดเกษตรกรจะขนย๎ายข๎าวจากนามายังลานตาก
ในหมูํบ๎านและการตากข๎าวจะใช๎แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก โดยเกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขายจะมีขนาดยุ๎ง
ฉางโดยเฉลี่ยใหญํกวําเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎เพื่อบริโภคหรือเป็นเมล็ดพันธุ์ และเกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขาย
สํวนใหญํจะเก็บข๎าวในยุ๎งฉางมากกวําเก็บในบ๎านหรือพื้นที่ตํอเติม โดยเกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎บริโภคในครัวเรือน
หรือเก็บไว๎เป็นเมล็ดพันธุ์จะนิยมบรรจุข๎าวในกระสอบวางเรียงแนวนอนซ๎อนกัน ในขณะที่เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขาย
หรือจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํจะเลือกการเทกอง ผลการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวหอมมะลิตามสภาพแวดล๎อมการผลิต
พบวํา ผลผลิตข๎าวอินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝนมีแนวโน๎มที่จะมีคุณภาพดีที่สุด คือมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงที่สุด เปอร์เซ็นต์
ข๎าวหักน๎อยที่สุดและปริมาณสารหอมสูงที่สุด อยํางไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวในการสุํมตัวอยํางข๎าวครั้งที่
2 มีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวไมํแตกตํางกันมากนัก ยกเว๎นข๎าวหอมมะลิในพื้นที่ชลประทานที่คุณภาพหลังการ
จัดเก็บลดลงมากที่สุดเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํมีสัดสํวนสูงขึ้นมากที่สุด นอกจากนั้นเมื่อพิจารณา
ตามขนาดพื้นที่เพาะปลูกพบวําผลผลิตข๎าวของเกษตรกรรายใหญํมีแนวโน๎มที่จะมีคุณภาพต่ ากวําเกษตรกรที่มีพื้นที่
เพาะปลูกขนาดกลางและขนาดเล็ก
เมื่อจ าแนกการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวตามสภาพแวดล๎อมของยุ๎งฉาง พบวํา การเปลี่ยนแปลงความชื้น
และความหอมข๎าวหอมมะลิแตกตํางกันตามลักษณะการรั่วซึมของยุ๎งฉางและการบังแดด โดยยุ๎งฉางที่มีการรั่วซึม
มากมีแนวโน๎มที่จะท าให๎ความชื้นของข๎าวเปลือกหอมมะลิที่จัดเก็บเพิ่มขึ้น ในขณะที่ยุ๎งฉางที่รั่วซึมเล็กน๎อยมี
เปอร์เซ็นต์ข๎าวท๎องไขํเพิ่มขึ้นมากที่สุด นอกจากนั้นวัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉางและการยกพื้นยุ๎งฉางท าให๎ความชื้นในเมล็ดข๎าว
หอมมะลิแตกตํางกัน ส าหรับอิทธิพลของรูปแบบการจัดเก็บพบวํา เกษตรกรที่เก็บข๎าวแบบเก็บกองและเก็บใน
กระสอบป่านมีแนวโน๎มที่ความชื้นข๎าวจะลดลงมากกวําการจัดเก็บข๎าวใสํกระสอบปุ๋ย และกระสอบอาหารสัตว์หรือ
65