Page 96 -
P. 96
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในแปลงข๎าวรวมไปจนถึงกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวอยํางดี จึงอาจเป็นสาเหตุที่ท าให๎ข๎าวอินทรีย์มีคุณภาพ
และปริมาณ 2AP สูงกวําข๎าวทั่วไป ซึ่งผลการทดลองนี้สอดคล๎องกับรายงานของอภิวัฒน์ และคณะ (2559) ที่พบวํา
ข๎าวที่ใช๎ปุ๋ยอินทรีย์มีปริมาณสาร 2-AP และ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด มากกวําข๎าวที่ปลูกโดยใช๎ปุ๋ยเคมี
นอกจากนี้ข๎าวอินทรีย์ยังได๎รับการยอมรับจากผู๎บริโภคด๎านรสชาติ กลิ่นหอม และ ความนุํมเหนียวมากกวําข๎าวที่
ปลูกโดยใช๎ปุ๋ยเคมี อยํางไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้พบวําข๎าวอินทรีย์มีเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํสูงกวําข๎าวทั่วไป ซึ่งการเกิด
ท๎องไขํเป็นผลมาจากการถูกรบกวนจากภาวะเครียดตํางๆ (stress) โดยเฉพาะสภาวะเครียดจากอุณหภูมิสูง
(Nevame et al., 2018) ในชํวงการเคลื่อนย๎ายสารอาหารไปสะสมยังเมล็ด (translocation) ท าให๎เกิดจากการจับ
ตัวอยํางหลวมๆ ระหวํางผลึกแป้ง (starch granule), กลุํมแป้ง (starch compound) และโปรตีน (protein
body) เกิดเป็นชํองอากาศเล็กๆ ภายในเมล็ดมองเห็นเป็นลักษณะทึบแสงจุดขุํนขาว
ตารางที่ 7.2 ผลของการเก็บข๎าวในยุ๎งไม๎ด๎วยวิธีการเก็บรักษาข๎าว 8 รูปแบบ ในข๎าว 2 ชนิด ที่ระยะเวลาเก็บรักษา
นาน 6 เดือน
การเก็บในยุ้งไม้ ในกองข้าว ความชื้น เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ
อุณหภูมิ ความชื้น ข้าวเปลือก ต้นข้าว ท้องไข่ เมล็ดหัก 2AP
o
( C) (%) (%) (%) (%) (%) (µg/g)
ชนิดข้าว
ข๎าวอินทรีย์ 31.15 B 10.30 B 13.00 B 72.35 A 2.79 A 23.55 B 0.239 A
ข๎าวทั่วไป 31.42 A 10.41 A 13.29 A 64.82 B 0.97 B 31.70 A 0.177 B
วิธีเก็บ
กระสอบป่านเกํา 31.56 B 10.39 B 12.97 CD 68.42 CD 1.94 B 28.14 BC 0.188 DE
กระสอบน้ าตาล-ใหมํ 31.04 CD 10.24 DE 13.22 B 68.38 CD 2.07 AB 27.14 CDE 0.202 CD
กระสอบน้ าตาล-เกํา 31.11 CD 10.20 E 12.99 C 70.18 A 2.07 AB 25.89 E 0.244 A
กระสอบปุ๋ยแบบเคลือบ-ใหมํ 31.15 CD 10.57 A 13.77 A 66.41 E 1.49 D 30.17 A 0.184 E
กระสอบอาหารสัตว์-ใหมํ 30.83 D 10.56 A 13.69 A 67.32 DE 2.22 A 28.76 B 0.221 B
กระสอบอาหารสัตว์-เกํา 31.18 CD 10.30 CD 12.95 CD 68.54 BCD 1.92 BC 27.51 BC 0.226 B
ถุงตาขําย 31.39 BC 10.24 DE 12.84 DE 70.02 AB 1.57 D 26.07 DE 0.185 E
การเก็บกอง 32.01 A 10.36 BC 12.74 E 69.40 ABC 1.76 C 27.33 CD 0.213 BC
ระยะเวลาเก็บรักษา
1 เดือน 27.19 E 10.12 D 13.15 C 62.98 E 1.58 D 33.20 A 0.378 A
2 เดือน 32.33 AB 11.05 A 12.96 D 71.46 B 2.10 B 24.24 C 0.181 B
3 เดือน 32.55 A 10.98 A 12.42 E 73.72 A 2.35 A 20.84 D 0.193 B
4 เดือน 32.09 BC 9.26 E 13.37 B 69.02 C 1.89 C 27.42 B
5 เดือน 32.00 C 10.33 C 13.35 B 68.87 C 1.96 BC 27.88 B 0.149 C
6 เดือน 31.54 D 10.41 B 13.64 A 65.46 D 1.41 E 32.19 A 0.139 C
หมายเหตุ: ตัวอักษรที่ก ากับในสดมภ์ของแตํละปัจจัยที่เหมือนกันแสดงวําไมํตํางกันทางสถิติที่ความเชื่อมั่น p≤0.05 เมื่อเปรียบเทียบ
คําเฉลี่ยด๎วย LSD
o
วิธีการเก็บข๎าวด๎วยการเก็บกองมีอุณหภูมิในกองข๎าวเฉลี่ยสูงที่สุด (32.01 C) การเก็บข๎าวด๎วยกระสอบ
พลาสติกแบบเคลือบใหมํและกระสอบอาหารสัตว์ใหมํมีคําเปอร์เซ็นต์ความชื้นในกองข๎าว (10.57% และ 10.56%
ตามล าดับ) และเปอร์เซ็นต์ความชื้นข๎าวเปลือกสูงที่สุด (13.77% และ 13.69% ตามล าดับ) แตํทั้งนี้คําความชื้น
ข๎าวเปลือกเฉลี่ยต่ ากวํา 14% จึงไมํสํงผลตํอคุณภาพในเชิงพาณิชย์ (ตารางที่ 7.2)
การเก็บข๎าวในกระสอบน้ าตาลเกํา ถุงตาขําย และ การเก็บกอง ให๎คําเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงเทํากับ
70.18% 70.02% และ 60.40% ตามล าดับ การเก็บในถุงตาขํายและกระสอบปุ๋ยเคลือบใหมํมีเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํต่ า
เทํากับ 1.57% และ 1.49% แตํการเก็บในกระสอบปุ๋ยเคลือบใหมํกลับมีเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักสูงที่สุดเทํากับ 30.17%
การเก็บข๎าวในกระสอบน้ าตาลเกําสามารถรักษาความหอมของข๎าวได๎ดีที่สุดโดยมีปริมาณ 2AP เทํากับ 0.244 µg/g
68