Page 83 -
P. 83

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว























                       ภาพที่ 6.1  (ก) การใช๎พื้นที่ใต๎ยุ๎งฉางเป็นคอกสัตว์    (ข) การใช๎พื้นที่ใต๎ยุ๎งฉางเก็บอุปกรณ์การเกษตร


                       ตารางที่ 6.4  การใช๎ประโยชน์จากยุ๎งฉาง จ าแนกตามรูปแบบการผลิตและวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าว
                        วัสดุที่ใช้ท ายุ้งฉาง/สถานที่เก็บข้าว   สภาพแวดล้อมการผลิต   วัตถุประสงค์การเก็บข้าว   รวม
                                                        นาน้ าฝน    ชลประทาน     ไม่เก็บ    เก็บไว้
                                                     ทั่วไป  อินทรีย์   ข้าวทั่วไป   ไว้ขาย   ขาย
                                                                            (ร้อยละ)
                       วัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉาง/สถานที่เก็บ
                       ไมํมี/ไมํได๎ยกพื้น            11.66   12.96       35.00      23.56       8.28  16.31
                       พื้นดิน                       84.66   76.85       43.33      66.09      84.08  74.62
                       พื้นปูน/หิน                    3.68   10.91       21.67      10.43       7.64   9.06
                       การใช๎ประโยชน์ใต๎ฐานยุ๎งฉาง
                       ไมํใช๎                        38.04   33.33       55.00      43.10      35.67  39.58
                       คอกสัตว์                      61.35   66.67       45.00      56.90      63.69  60.12
                       เก็บของและอุปกรณ์เกษตร         0.61    0.00        0.00       0.00       0.64   0.30
                       ที่มา: จากการส ารวจ


                            เมื่อพิจารณาท าเลที่ตั้งของยุ๎งฉาง พบวํายุ๎งฉางสํวนใหญํตั้งอยูํในแนวตะวันออกตะวันตก อาจจะหัน
                       หน๎าไปทางทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก โดยในบางพื้นที่เชํนพื้นที่ชลประทานยุ๎งฉางของเกษตรกรจะตั้งอยูํ
                       ใกล๎ตัวบ๎านท าให๎ได๎รับรํมเงาจากบ๎าน แสงแดดสํองไมํถึง มีเพียง 31.67% ที่ยุ๎งฉางมีแดดสํองทั้งวัน (ภาพที่
                       6.2)  ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไปในพื้นที่นาน้ าฝนซึ่งมียุ๎งฉางขนาดใหญํกวําในพื้นที่อื่นๆ พบวํา
                       เกษตกรกรกวํา 56.79%  ในพื้นที่ดังกลําวไมํได๎รับรํมเงาจากตัวบ๎านหรือต๎นไม๎ใหญํเลย (ตารางที่ 6.5)
                       อาจจะเกิดจากการที่ในพื้นที่ดังกลําวเกษตรกรมียุ๎งฉางขนาดใหญํจึงไมํสามารถตั้งติดกับตัวบ๎านได๎เหมือนกับ
                       ในพื้นที่ชลประทาน ซึ่งการบังแดดจะสํงผลให๎อุณหภูมิในยุ๎งฉางลดลงมากกวําการได๎รับแสงแดดทั้งวัน
                       อุณหภูมิในยุ๎งฉางที่สูงเกินไปและการได๎รับแสงแดดในชํวงเที่ยงถึงบํายจะสํงผลกระทบตํอคุณภาพข๎าว ทั้ง
                       ความชื้น เปอร์เซ็นต๎นข๎าว หรือปัจจัยคุณภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง













                                                                                                        55
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88