Page 80 -
P. 80

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                            ส าหรับผลการส ารวจจ านวนยุ๎งฉางพบวําเกษตรกรสํวนใหญํ 78.85%  มีสถานที่เก็บข๎าว 1  แหํง
                       รองลงมามีสถานที่เก็บข๎าว 2  แหํง ปริมาตรของสถานที่เก็บข๎าวเฉลี่ยประมาณ 22.90  ลูกบาศก์เมตรตํอ
                                                                      10
                       ครัวเรือน หรือสามารถจัดเก็บข๎าวเปลือกได๎ประมาณ 13 ตัน  เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายจะมีขนาดยุ๎งฉาง
                       โดยเฉลี่ยใหญํกวําเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎เพื่อบริโภคหรือเป็นเมล็ดพันธุ์เทํานั้นในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่
                       ชลประทานจะมียุ๎งฉางขนาดเล็กกวําพื้นที่อื่นๆ โดยยุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมี
                       ขนาดใหญํที่สุด ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ดังกลําวเป็นเกษตรกรรายใหญํมีพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตข๎าวมากกวํา
                       ในพื้นที่อื่นๆ ดังนั้นจึงจ าเป็นต๎องมีสถานที่จัดเก็บข๎าวที่มีความจุและมีมาตรฐานมากกวําเกษตรกรในพื้นที่
                       อื่นๆ เมื่อพิจารณาอายุของยุ๎งฉางพบวํา ยุ๎งฉางที่ใช๎เก็บข๎าวหอมมะลิมีอายุเฉลี่ยประมาณ 17.26  ปี โดย
                       ยุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไปและข๎าวหอมมะลิอินทรีย์มีอายุเฉลี่ย 18.29
                       และ 18.41  ปี ตามล าดับ มากกวําเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานที่ยุ๎งฉางมีอายุเฉลี่ยเพียง 12.4  ปี เทํานั้น
                       ในขณะที่เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอขายจะใช๎ยุ๎งฉางที่มีอายุเฉลี่ย 20.24  ปี สูงกวํากลุํมที่เก็บเข๎าไว๎บริโภคใน
                       ครัวเรือนหรือใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์ โดยเกษตรกรประมาณ 50%  สร๎างยุ๎งฉางภายหลังจากการสร๎างบ๎านแล๎ว
                       ในขณะที่ 33.08% สร๎างกํอนสร๎างบ๎าน และ 15.59% สร๎างพร๎อมกับบ๎าน ซึ่งเกษตรกรประมาณหนึ่งในสาม
                       ของกลุํมตัวอยํางสร๎างยุ๎งฉางกํอนสร๎างบ๎าน เนื่องจากเกษตรกรสํวนใหญํจะได๎รับมรดกที่นาจากพํอแมํในชํวง
                       ที่แตํงงานมีครอบครัว ซึ่งสํวนใหญํในขณะนั้นเกษตรกรยังไมํมีบ๎านเป็นของตนเอง แตํได๎ครอบครองที่นาและ
                       เพาะปลูกข๎าวในพื้นที่ดังกลําว จึงจ าเป็นต๎องสร๎างยุ๎งฉางเพื่อจัดเก็บข๎าวของตนเองให๎เป็นสัดสํวนจากผลผลิต
                       ของพํอแมํ นอกจากนี้ในสํวนของการซํอมแซมยุ๎งฉางยังพบวํา เกษตรกรประมาณ 38.3%  เคยซํอมแซมยุ๎ง
                       ฉางโดยเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายจะมีสัดสํวนเกษตรกรที่เคยซํอมแซมยุ๎งฉางสูงกวําเกษตรกรที่เก็บไว๎บริโภค
                       ในครัวเรือน ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิในพื้นที่ชลประทานมีสัดสํวนของการซํอมแซมยุ๎งฉางต่ า
                       กวําพื้นที่อื่นๆคือมีเกษตรกรเพียง 28.33%  เทํานั้นที่เคยด าเนินการซํอมแซมยุ๎งฉาง (ตารางที่ 7.2) ซึ่ง
                       กิจกรรมที่ด าเนินการเกี่ยวข๎องกับการอุดรอยรั่วของหลังคาที่สํวนใหญํท าจากสังกะสี บางสํวนต๎องเปลี่ยนเสา
                       ยุ๎งฉางจากเสาไม๎เป็นเสาปูนเพราะการท าลายของปลวก หรืออาจเปลี่ยนผนังจากไม๎เป็นสังกะสีเพราะผุพัง
                       เชํนกัน


                       ลักษณะทางกายภาพของยุ้งฉาง

                              ลักษณะทางกายภาพของยุ๎งฉาง หมายถึง ความสูงและวัสดุที่ใช๎ในการสร๎างยุ๎งฉางของเกษตรกร
                       จากการส ารวจพบวํายุ๎งฉางที่ใช๎จัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรมีความสูงจากพื้นประมาณ 1.45  เมตร
                       ความสูงของยุ๎งฉางในกลุํมที่มีวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าวตํางกันไมํแตกตํางกันมากนัก แตํความสูงของยุ๎ง
                       ฉางจะแตกตํางกันตามสภาพแวดล๎อมในการผลิตคือเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมียุ๎งฉางที่มีความสูงเฉลี่ย
                       น๎อยที่สุดคือ 1.13  เมตรเทํานั้น ในขณะที่ความสูงของยุ๎งฉางวัดจากพื้นยุ๎งฉางถึงหลังคาซึ่งเป็นตัวแปรที่
                       สะท๎อนขนาดของยุ๎งฉางได๎เชํนกันพบวํา เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎เพื่อขายมียุ๎งฉางที่มีความสูงจากฐานยุ๎งฉาง
                       1.93 เมตร สูงกวําเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎บริโภคหรือเก็บไว๎เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ยุ๎งฉางมีความสูงเฉลี่ย 1.05 เมตร
                       ซึ่งความสูงของยุ๎งฉางวัดจากพื้นยุ๎งฉางถึงหลังคาเป็นตัวแปรหนึ่งที่สะท๎อนขนาดของยุ๎งฉาง ดังที่ได๎กลําวไว๎
                       แล๎วในหัวข๎อที่ผํานมาคือเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนมีขนาดพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตมากกวํา รวมทั้งมี
                       สัดสํวนในการจัดเก็บข๎าวมากกวํา ดังนั้นจึงมีความสูงของยุ๎งฉางวัดจากพื้นยุ๎งฉางถึงหลังคามากกวํา (ตาราง
                       ที่ 6.3)

                              ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมียุ๎งฉางที่มีขนาดความสูงมากที่สุดคือ 1.68
                       เมตร สูงกวําเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานที่มียุ๎งฉางสูงเฉลี่ยเทํากับ 1.18  เมตรเทํานั้น จากการสัมภาณ์
                       เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนระบุเหตุผลที่สร๎างยุ๎งฉางที่มีความสูงมากเพื่อให๎การระบายอากาศใต๎พื้นยุ๎งฉางมี





                       10
                         รวมความจุของสถานที่จัดเก็บข๎าวทุกแหํงของครัวเรือนทั้งในยุ๎งฉางและในบ๎าน ส าหรับประมาณการปริมาณผลผลิตข๎าวของสถานที่
                       จัดเก็บหาจากปริมาตรของสถานที่เก็บคูณด๎วยปริมาตรข๎าวที่สามารถเก็บในยุ๎งฉางหนึ่งตัน โดยใช๎คํา bulk  density ของข๎าวเทํากับ
                       580 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
                                                                                                        52
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85