Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อินทรีย์สํวนใหญํมีตลาดรองรับผลผลิตและขายผลผลิตได๎ราคาสูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไป จึงไมํมีแรงจูงใจในการน า
ข๎าวหอมมะลิเข๎ารํวมโครงการฯ
ในขณะที่ผลการประมาณคําสัมประสิทธิ์ตัวแปรด๎านเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร ทั้งเพศ อายุ ระดับ
การศึกษา รายได๎ของครัวเรือน และปริมาณหนี้สิน ไมํมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ อยํางมี
นัยส าคัญทางสถิติ ยกเว๎นต๎นทุนการตากข๎าวที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ของ
เกษตรกร เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว๎คือ เกษตรกรกลุํมที่ตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ จะมีต๎นทุนในการท ากิจกรรม
หลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะต๎นทุนคําตากและเก็บรักษา ซึ่งถ๎าต๎นทุนในการท ากิจกรรมเหลํานี้ยิ่งมาก จะท าให๎
เกษตรกรตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการน๎อยกวํากลุํม เกษตรกรที่มีต๎นทุนเหลํานี้น๎อยกวํา สํวนปัจจัยด๎านสังคมและการ
สื่อสารแม๎วําเกษตรกรสํวนใหญํรู๎จักและทราบวํามีการด าเนินโครงการฯ นี้ แตํการรู๎จักโครงการฯ ไมํมีความสัมพันธ์
ตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ เชํนเดียวกับการเข๎ารับการอบรมความรู๎เกี่ยวกับข๎าว การเป็นสมาชิก ธ.ก.ส. ซึ่งไมํ
มีความสัมพันธ์ตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติเชํนกัน
การวิเคราะห์แบบจ าลอง marginal effect ซึ่งก าหนดให๎ปัจจัยอื่นๆ คงที่ เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรอิสระแตํละปัจจัยกับตัวแปรตาม ผลการศึกษาแสดงให๎เห็นวําคําสัมประสิทธิ์การประมาณคําของตัวแปรตาม
เกือบทุกปัจจัยเป็นไปในทิศทางเดียวกับผลการวิเคราะห์คําสัมประสิทธิ์ในแบบจ าลองหลัก ยกเว๎นคําสัมประสิทธิ์ของ
ตัวแปรนาน้ าฝน-ข๎าวอินทรีย์ ที่เมื่อก าหนดให๎ปัจจัยอื่นคงที่แล๎วตัวแปรนี้ไมํมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเข๎ารํวม
โครงการฯอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ สอดคล๎องกับค าอธิบายที่ระบุไว๎ข๎างต๎นวําเกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์สํวนใหญํมี
ตลาดรองรับผลผลิตและขายผลผลิตได๎ราคาสูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไป ดังนั้นตัวแปรนี้จึงไมํมีความสัมพันธ์กับการ
ตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ
ความพึงพอใจและข้อเสนอแนะต่อการด าเนินโครงการ
ผลการประเมินความพึงพอใจการด าเนินโครงการจ าน ายุ๎งฉางจากเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ในปีการ
ผลิต 2560/61 จ านวน 85 ราย พบวํา เกษตรกรมีความพึงพอใจตํอวิธีการจํายเงินและความรวดเร็วของการจํายเงิน
มากที่สุด ในขณะที่ประเด็นที่เกษตรกรมีระดับความพึงพอใจต่ าที่สุดคือความรวดเร็วของการด าเนินโครงการฯ และ
ขั้นตอนการด าเนินโครงการฯ ที่ลําช๎าและมีความยุํงยากในการด าเนินการ ราคาข๎าวที่ได๎รับยังไมํเหมาะสม และแม๎วํา
เกษตรกรสํวนใหญํจะเห็นวําระยะเวลาไถํถอน 5 เดือนเหมาะสมแล๎ว แตํเกษตรกรบางรายระบุวําควรขยาย
ระยะเวลาไถํถอนออกไปอีก ส าหรับแนวโน๎มของการเข๎ารํวมโครงการฯ ในอนาคต เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ใน
ปีการผลิต 2560/61 สํวนใหญํ 82.35% จะเข๎ารํวมโครงการตํอในปีถัดไป มีเพียง 1.18% ที่จะไมํเข๎ารํวม ในขณะที่
เกษตรกรอีก 16.67% ไมํแนํใจวําจะเข๎ารํวมโครงการฯ ในปีถัดไปหรือไมํ เนื่องจากต๎องดูการเปลี่ยนแปลงของราคา
ข๎าวและปริมาณผลผลิตข๎าวหอมมะลิในปีถัดไปกํอน ส าหรับเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯในปีนี้ สํวนใหญํ
65.04% ระบุวําจะไมํเข๎ารํวมโครงการฯ ในปีหน๎า เนื่องจากผลผลิตข๎าวหอมมะลิมีน๎อย ไมํต๎องการจ าน าเพราะ
ขั้นตอนยุํงยาก ไมํมีแรงงาน มีตลาดรองรับผลผลิตและท าสัญญากับผู๎ซื้อลํวงหน๎าทุกปี และสํวนหนึ่งต๎องรีบขายข๎าว
เพื่อน าเงินไปช าระหนี้ อยํางไรก็ตามยังมีเกษตรกรอีกประมาณ 14.23% ที่สนใจจะเข๎ารํวมโครงการฯในปีถัดไป
เนื่องจากพึงพอใจในราคาข๎าวที่จะได๎รับจากโครงการฯ ได๎รับคําจัดเก็บข๎าวเปลือก (เกษตรกรเรียกวํา “คําเชํายุ๎ง”)
จากโครงการฯ อีกตันละ 1,500 บาท เป็นการชํวยลดต๎นทุนในการจัดเก็บข๎าว หรือเป็นการเพิ่มราคารับจ าน าจะท า
ให๎ได๎รับรายรับสุทธิหรือก าไรเพิ่มขึ้น จึงจูงใจให๎เกษตรกรตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากขึ้น และหากราคาข๎าวหอม
มะลิสูงขึ้นอยํางตํอเนื่องเหมือนปีนี้เกษตรกรจะมีก าไรมากขึ้นเมื่อขายข๎าวไปไถํถอน (ตารางที่ 5.7)
47