Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                       ปัจจัยด้านสังคมและการสื่อสาร
                              งานวิจัยที่ผํานมาระบุวําปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร มีอิทธิพลอยํางมากตํอการยอมรับเทคโนโลยีหรือ
                       การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตของเกษตรกรในประเทศก าลังพัฒนา (วีรพัสย์, 2560; Okon and Idiong; 2016.
                       Sriwichailamphan and Tunyawadee, 2014; Xiong, 2016) ตัวแปรด๎านสังคมและการสื่อสาร ได๎แกํ การเป็น
                       สมาชิกกลุํมองค์กร การเข๎ารับการอบรม และการประชาสัมพันธ์โครงการ จากการส ารวจพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวม
                       โครงการฯ เคยเข๎ารับการอบรมความรู๎เรื่องข๎าว 68.24% สูงกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ ที่เคยเข๎ารับการ
                       อบรมความรู๎เรื่องข๎าว 52.82% เกษตรกรกลุํมที่เข๎ารํวมโครงการฯ ยังมีสัดสํวนการเป็นสมาชิกกลุํมเกษตรกร เชํน
                       กลุํมวิสาหกิจชุมชน กลุํมเกษตรกรนาแปลงใหญํ กลุํมเกษตรกรผู๎ผลิตเมล็ดพันธุ์ กลุํมข๎าวอินทรีย์ เป็นต๎น สูงกวํา
                       เกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ เกษตรกรสํวนใหญํเป็นสมาชิก ธ.ก.ส. โดยเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มี
                       สัดสํวนของเกษตรกรที่เป็นสมาชิก ธ.ก.ส. 62.35% สูงกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ ประมาณ 10% และ
                       เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯทุกรายรู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ในขณะที่เกษตรกรประมาณ 80.89% ของกลุํมที่
                       ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ รู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ผํานการประชาสัมพันธ์จากเจ๎าหน๎าที่ ธ.ก.ส. และผู๎น าหมูํบ๎าน
                       (ตารางที่ 5.5) อยํางไรก็ตามแม๎วําเกษตรกรสํวนใหญํรู๎จักและทราบวํามีการด าเนินโครงการฯ แตํเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎า
                       รํวมโครงการฯ นี้ ตํอให๎เหตุผลวํามีความยุํงยากในการจัดการยุ๎งฉางและไมํยืดหยุํน หากต๎องการน าข๎าวไปขายเพื่อใช๎
                       จํายในครัวเรือนกํอนก าหนดเวลาของโครงการฯ นอกจากนั้นบางรายให๎เหตุผลวําราคาข๎าวที่เพิ่มสูงขึ้นไมํคุ๎มกับ
                       น้ าหนักข๎าวที่ลดลงท าให๎รายได๎ที่ได๎รับไมํคุ๎มกับการลงทุนและไมํคุ๎มคํากับต๎นทุนการจัดการที่เกิดขึ้น


                       ตารางที่ 5.5  ปัจจัยด๎านการรวมกลุํมและการสื่อสารของครัวเรือนเกษตรกรตัวอยําง จ าแนกตามการตัดสินใจเข๎า
                                 รํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
                          รายการ/ขนาดพื้นที่      เล็ก           กลาง            ใหญ่          รวมเฉลี่ย
                                             ไม่จ าน า  จ าน า  ไม่จ าน า  จ าน า  ไม่จ าน า  จ าน า  ไม่จ าน า  จ าน า
                                                                          %
                       เคยได๎รับการอบรมเรื่องข๎าว   50.00  50.00   53.92  60.98   58.33  76.19   52.85  68.24
                       เป็นสมาชิกกลุํมเกษตรกร   55.56   0.00   59.80  63.41   66.67  92.86    58.94  76.47
                       เป็นสมาชิก ธ.ก.ส.       48.15   0.00    52.94  68.29   66.67  59.52    52.85  62.35
                       รู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง   74.07  100.00   84.31  100.00   91.67  100.00   80.89  100.00
                       ที่มา: จากการส ารวจ

                       ผลการประมาณค่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการจ าน ายุ้งฉาง

                              ผลการประมาณคําแบบจ าลอง binomial  logistic  regression  เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการ
                                                                                          2
                       ตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกรแสดงดังตารางที่ 5.6  คํา Probability     แสดงให๎เห็นวําตัว
                       แปรอิสระในแบบจ าลองสามารถอธิบายตัวแปรตามหรือการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางได๎ โดยมีอ านาจ
                       การอธิบายเทํากับ 49.09%  หมายถึง ลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม
                       ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสารในแบบจ าลองสามารถอธิบายการตัดสินใจเข๎ารํวม
                       โครงการฯ ของเกษตรกรได๎ 49.09%  ผลการประมาณคําสัมประสิทธิ์ตัวแปรพบวําต๎นทุนคําตากข๎าว การมียุ๎งฉาง
                       ภาคอีสานใต๎ จ านวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพื้นที่เพาะปลูก และรูปแบบการผลิต มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจเข๎า
                       รํวมโครงการฯของเกษตรกรอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นตั้งแตํ 90%  ขึ้นไป  โดยครัวเรือนที่มี
                       จ านวนแรงงานในครัวเรือนสูงกวํามีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวําครัวเรือนที่มีแรงงาน
                       น๎อย ผลการวิเคราะห์คําสัมประสิทธิ์ของตัวแปรนี้สะท๎อนให๎เห็นถึงบทบาทของแรงงานครัวเรือนที่มีตํอการตัดสินใจ
                       เข๎ารํวมโครงการฯ เนื่องจากเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ต๎องตากข๎าวกํอนจัดเก็บในยุ๎งฉาง ดังที่อธิบาย
                       รายละเอียดในบทที่ 4 วําผลผลิตข๎าวที่ได๎จากการเก็บเกี่ยวโดยรถเกี่ยวนวดมีความชื้นสูงจ าเป็นต๎องตากแดด
                       ประมาณ 2-3 แดด เพื่อลดความชื้นกํอนการจัดเก็บ ซึ่งในกิจกรรมการตากข๎าวเพื่อเก็บนี้เกษตรกรใช๎แรงงานใน
                       ครัวเรือนเป็นหลักเพราะแรงงานจ๎างหายากและคําจ๎างแรงงานสูงมากในชํวงเวลาดังกลําว เกษตรกรที่มีแรงงานใน

                                                                                                        45
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78