Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                             บทที่ 6
                                         รูปแบบการจัดเก็บข้าวและคุณภาพข้าวของเกษตรกร


                       บทน า

                              คุณภาพข๎าวหอมมะลิเกี่ยวข๎องกับปัจจัยหลายด๎านทั้งสภาพแวดล๎อมในการผลิต คุณสมบัติของดิน การ
                       ปฏิบัติในแปลงหรือการเขตกรรม กระบวนการในการเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังเก็บเกี่ยว หลายประเด็นมีผล
                       การศึกษาที่ชัดเจนและสามารถน ามาปรับใช๎หรือสํงเสริมให๎เกษตรกรปฏิบัติเพื่อเพิ่มคุณภาพข๎าวหอมมะลิ
                       ได๎  อยํางไรก็ตามประเด็นที่ยังไมํมีค าตอบหรือแนวทางที่เหมาะสมในการปฏิบัติเพื่อคงคุณภาพข๎าวหอมมะลิไว๎คือ
                       กระบวนการระหวํางจัดเก็บข๎าวเปลือกในยุ๎งฉางของเกษตรกร ในบทนี้จะวิเคราะห์อิทธิพลของรูปแบบการจัดเก็บ
                       ข๎าวตํอคุณภาพข๎าวของเกษตรกรโดยใช๎การวิจัยเชิงประจักษ์ เป็นการส ารวจข๎อมูลข๎าวหอมมะลิที่จัดเก็บในยุ๎งฉาง
                       ของเกษตรกรและหาความสัมพันธ์ของรูปแบบการจัดเก็บกับคุณภาพข๎าวหอมมะลิ 4  ตัวแปร ได๎แกํ ความชื้น
                       เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความหอมของข๎าว ซึ่งในบทนี้จะน าเสนอรูปแบบและวิธีการการจัดเก็บข๎าว
                       หอมมะลิ ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล๎อมของยุ๎งฉาง การป้องกันก าจัดศัตรูข๎าวในสถานที่จัดเก็บ รวมถึง
                       ปัญหาอุปสรรคในการจัดเก็บและคุณภาพข๎าวหอมมะลิจากการส ารวจในยุ๎งฉางของเกษตรกรตามตัวแปรที่ส าคัญ



                       วิธีการปฏิบัติเพื่อลดความชื้นของข้าวเปลือก
                              หลังจากเกษตรกรเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิโดยใช๎รถเกี่ยวนวดแล๎วเกษตรกรจะขนย๎ายข๎าวจากนามายังลาน
                       ตากในหมูํบ๎านซึ่งสํวนใหญํจะใช๎สถานที่ของวัด โรงเรียน ริมถนน หรือบางหมูํบ๎านที่มีลานตากผลผลิตก็จะตากในลาน
                       ตากที่ได๎รับการสนับสนุนจากรัฐบาล เกษตรกรจะน าข๎าวออกมาตากในตอนเช๎าโดยกระจายข๎าวให๎บางที่สุดเพื่อให๎
                       ข๎าวแห๎งอยํางสม่ าเสมอ ใช๎เวลาตากประมาณ 2-3  วัน ซึ่งจ านวนวันในการตากเฉลี่ยในแตํละพื้นที่ใกล๎เคียงกัน ใน
                       ระหวํางชํวงเวลากลางวันเกษตรกรต๎องคอยพลิกกลับข๎าวเพื่อให๎ข๎าวแห๎งสม่ าเสมอประมาณ 3-4 ครั้งตํอวันหรือบาง
                       รายไมํที่ไมํมีเวลาอาจจะพลิกกลับข๎าวระหวํางตากประมาณ 2  ครั้งตํอวัน เกษตรกรสํวนน๎อยเทํานั้นก็คือน๎อยกวํา
                       1%  ที่จะไมํกลับข๎าวระหวํางวันเนื่องจากไมํมีเวลา โดยจะตากไว๎ในตอนเช๎าและรอเก็บกองไว๎ในตอนเย็นทีเดียว
                       กิจกรรมในกระบวนการตากข๎าวจะใช๎แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก สํวนการขนสํงผลผลิตขึ้นไปเก็บในยุ๎งฉางอาจจะมี
                       เกษตรกรสํวนน๎อยใช๎แรงงานจ๎าง และสํวนใหญํจะจ๎างแรงงานที่เป็นเครือญาติหรือเพื่อนบ๎านซึ่งคําจ๎างแรงงานจะถูก
                       กวําการจ๎างรถขนสํงที่รับจ๎างเป็นธุรกิจ (ตารางที่ 6.1)


                       ตารางที่ 6.1 การปฏิบัติของเกษตรกรในการตากข๎าว จ าแนกตามรูปแบบการผลิตและวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าว
                                                      สภาพแวดล้อมการผลิต       วัตถุประสงค์การเก็บข้าว   รวม
                               การปฏิบัติ            นาน้ าฝน      ชลประทาน     ไม่เก็บ    เก็บไว้
                                                 ทั่วไป   อินทรีย์   ข้าวทั่วไป   ไว้ขาย    ขาย
                       จ านวนวันที่ใช๎ในการตากข๎าว (วัน)   3.09   3.08   2.72       2.95      3.10     3.02
                       จ านวนครั้งของการพลิกกลับข๎าวระหวํางการตาก (ร๎อยละ)
                       มากกวํา 4 ครั้งตํอวัน      18.47      12.62      16.67      14.91     17.65    16.24
                       3-4 ครั้งตํอวัน            52.23      58.25      50.00      57.14     50.33    53.82
                       2 ครั้งตํอวัน              24.84      24.27      27.78      22.36     28.10    25.16
                       วันละครั้ง                  4.46       4.85       3.70       4.97      3.92     4.46
                       ไมํท า                      0.00       0.00       1.85       0.62      0.00     0.32
                       ที่มา: จากการส ารวจ
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83