Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ตารางที่ 5.7  ความพึงพอใจและแนวโน๎มการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษา
                                                                         ขนาดพื้นที่เพาะปลูก
                              การด าเนินงาน/ระดับความพึงพอใจ         เล็ก      กลาง       ใหญ่    รวมเฉลี่ย

                                                                    N=2        N=41      N=42      N=85
                       ขั้นตอนการด าเนินงาน
                       การประชาสัมพันธ์กํอนเริ่มโครงการ                 2.50      2.34      2.48       2.41
                       ความรวดเร็วของการด าเนินโครงการ                  1.50      2.07      2.07       2.06
                       ขั้นตอนการด าเนินโครงการ                         2.00      2.15      2.29       2.21
                       ข๎อก าหนดรูปแบบในการจัดเก็บข๎าว                  2.50      2.46      2.45       2.46
                       วิธีการประเมินปริมาณข๎าว                         2.00      2.34      2.40       2.36
                       ปริมาณข๎าวที่ ธ.ก.ส. ประเมินให๎ได๎เหมือนที่คาดไว๎   2.00   2.32      2.50       2.40
                       ราคาข๎าวที่ได๎รับ                                2.50      2.20      2.24       2.22
                       จ านวนเงินที่ได๎รับ                              2.00      2.27      2.45       2.35
                       ก าหนดระยะเวลาไถํถอน                             2.50      2.15      2.26       2.21
                       วิธีการจํายเงิน ของ ธ.ก.ส.                       2.00      2.34      2.71       2.52
                       ความรวดเร็วของการจํายเงิน                        2.50      2.34      2.64       2.49
                       การท างานของเจ๎าหน๎าที่ที่เกี่ยวข๎อง             2.00      2.24      2.40       2.32
                                                                                   ร๎อยละ
                       แนวโน๎มการเข๎ารํวมโครงการในอนาคต (เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการในปี 2560/61)
                       ไมํเข๎ารํวม                                      0.00      2.44      0.00       1.18
                       เข๎ารํวม                                       100.00     78.05     85.71      82.35
                       ไมํแนํใจ                                         0.00     19.51     14.29      16.47
                       แนวโน๎มการเข๎ารํวมโครงการในอนาคต (เกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการในปี 2560/61)
                       ไมํเข๎ารํวม                                     73.15     53.92     72.22      65.04
                       เข๎ารํวม                                         7.41     20.59     16.67      14.23
                       ไมํแนํใจ                                        19.44     25.49     11.11      20.73
                       หมายเหตุ:  1=พึงพอใจน๎อย  2=พึงพอใจปานกลาง  3=พึงพอใจมาก
                       ที่มา: จากการส ารวจ


                       สรุป
                              โครงการจ าน ายุ๎งฉางเป็นนโยบายที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อดึงอุปทานข๎าวออกจากตลาดในชํวงฤดูเก็บเกี่ยว
                       รักษาเสถียรภาพของราคาและยกระดับรายได๎ของเกษตรกร ที่ผํานมาปริมาณผลผลิตข๎าวในโครงการฯ ยังต่ ากวํา
                       เป้าหมาย ดังนั้นปริมาณอุปทานข๎าวที่ดึงออกจากตลาดได๎น๎อยอาจจะสํงผลให๎ราคาไมํได๎เพิ่มขึ้นตามที่ตั้งเป้าหมายไว๎
                       จากการศึกษาพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ สํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ
                       มากกวํา 30 ไรํ และเกษตรกรกลุํมนี้มีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวําเกษตรกรรายเล็ก
                       ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวํา
                       เกษตรกรในพื้นที่ชลประทาน และเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ โดยเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มี
                       แรงงานหลักในการปลูกข๎าวเป็นเพศชายและเพศหญิงในสัดสํวนที่ใกล๎เคียงกัน อายุเฉลี่ยประมาณ 54  ปี และจบ
                       การศึกษาระดับประถมศึกษา ผลการประมาณคําปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการเข๎ารํวมโครงการฯ พบวําปัจจัยด๎าน
                       สถานภาพทางสังคมทั้งเพศ อายุ และระดับการศึกษา ไมํมีผลตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกร
                       ส าหรับลักษณะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มีรายได๎และหนี้สินสูงกวําเกษตรกรที่
                       ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ และข๎าวเป็นพืชหลักของเกษตรกรกลุํมที่เข๎ารํวมโครงการฯ อยํางไรก็ตามผลการประมาณคํา
                       สมการ logistic regression  ไมํพบความสัมพันธ์อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติของปัจจัยด๎านรายได๎และหนี้สินกับการ
                       ตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ โดยปัจจัยด๎านเศรษฐกิจที่สํงผลตํอการตัดสินใจของเกษตรกรคือต๎นทุนคําตากข๎าว มี
                       ความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันหมายถึงเกษตรกรที่มีต๎นทุนคําตากข๎าวสูงมีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวม
                       โครงการฯ มากกวํา
                                                                                                        48
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81