Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมและกายภาพของเกษตรกรตัวอย่าง

                              การประมาณคําแบบจ าลองเพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางเป็นการหา
                       ความสัมพันธ์ระหวํางตัวแปร 3 กลุํม คือตัวแปรด๎านเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม และ
                       ปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสารกับการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกร ในสํวนนี้จะเป็นการน าเสนอข๎อมูลตาม
                       ตัวแปรทั้ง 3 กลุํมดังกลําว ในตารางที่ 5.3 แสดงลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าว จ าแนกตามขนาด
                       ฟาร์มและการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ในปีการผลิต 2560/61  พบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ 57.65%  มี
                       แรงงานหลักในการปลูกข๎าวเป็นเพศชายในขณะที่ครัวเรือนเกษตรกรที่มีแรงงานหลักเป็นเพศหญิงมีประมาณ 42.35%
                       สัดสํวนครัวเรือนที่มีแรงงานเพศหญิงเป็นแรงงานหลักมีสูงกวําเมื่อเปรียบเทียบกับครัวเรือนที่ไมํเข๎ารํวมโครงการฯ
                       ส าหรับอายุเฉลี่ยของแรงงานหลักที่ท านา มีอายุเฉลี่ยประมาณ 54  ปี ไมํแตกตํางกันทั้งในแงํของการจ าแนกตามขนาด
                       ฟาร์มและการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ เมื่อพิจารณาระดับการศึกษาพบวํา เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ สํวนใหญํจบ
                       การศึกษาระดับประถมศึกษา เกษตรกรรายใหญํมีแนวโน๎มที่จะมีระดับการศึกษาสูงกวําเกษตรกรกลุํมอื่น และฟาร์ม
                       ขนาดใหญํมีสัดสํวนของเกษตรกรที่จบการศึกษาตั้งแตํอนุปริญญาขึ้นไปสูงที่สุด โดยที่เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯมี
                       สัดสํวนของแรงงานที่มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกร 92.94% สูงกวําเกษตรกรที่ไมํเข๎ารํวมโครงการฯ (ตารางที่ 5.3)


                       ตารางที่ 5.3  ลักษณะทางสังคมของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง จ าแนกตามขนาด
                                 พื้นที่เพาะปลูก ปีการผลิต 2560/61
                        รายการ/ขนาดพื้นที่     เล็ก            กลาง             ใหญ่           รวมเฉลี่ย
                                         ไม่จ าน า  จ าน า   ไม่จ าน า  จ าน า  ไม่จ าน า  จ าน า  ไม่จ าน า  จ าน า
                       เพศ
                       ชาย                  63.89   50.00    66.67  58.54     69.44  57.14    65.85  57.65
                       หญิง                 36.11   50.00    33.33  41.46     30.56  42.86    34.15  42.35

                       อายุเฉลี่ย (ปี)      55.07   54.00    54.78  54.20     53.97  54.69    54.61  54.30

                       ระดับการศึกษา
                       ประถมศึกษา           74.07  100.00    74.51  78.05     63.89  76.19    72.76  77.65
                       ม.ต๎น                 6.48    0.00     6.86   9.76      5.56  14.29     6.50  11.76
                       ม.ปลาย/ปวช.          14.81    0.00    12.75   9.76     16.67   4.76    14.23    7.06
                       อนุปริญญา/ปวส.        2.78    0.00     1.96   0.00      5.56   2.38     2.85    1.18
                       ป.ตรี/มากกวํา ป.ตรี   0.93    0.00     2.94   0.00      8.33   2.38     2.85    1.18

                       อาชีพหลักคือเกษตรกร   87.04  100.00   95.10  95.12     88.89  90.48    90.65  92.94
                       ที่มา: จากการส ารวจ


                              ส าหรับลักษณะทางเศรษฐกิจ พิจารณาตัวแปรด๎านรายได๎และหนี้สินของครัวเรือน ซึ่งพบวําครัวเรือนที่เข๎า
                       รํวมโครงการฯ มีรายได๎ 321,298 บาท สูงกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ ที่มีรายได๎เฉลี่ย 191,323 บาทตํอ
                       ปี โดยเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มีรายได๎จากนอกภาคการเกษตรและรายได๎จากการผลิตข๎าวสูงกวําเกษตรกร
                       กลุํมที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ แตํรายได๎อื่นที่มาจากภาคการเกษตรต่ ากวํา แสดงให๎เห็นวําข๎าวเป็นพืชหลักของ
                       เกษตรกรกลุํมที่เข๎ารํวมโครงการฯ ในขณะที่เกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ มีรายได๎จากภาคการเกษตรจาก
                       กิจกรรมการผลิตอื่นที่ไมํใชํข๎าวมากกวํา ซึ่งปัจจัยด๎านรายได๎และโครงสร๎างรายได๎ของครัวเรือนเป็นตัวแปรส าคัญอีก
                       ตัวแปรหนึ่งที่นําจะมีอิทธิพลตํอการตัดสินใจของเกษตรกร สมมติฐานในการศึกษาคือครัวเรือนที่มีรายได๎สูงมีความ
                       นําจะเป็นที่จะเข๎ารํวมโครงการฯมากกวํา เพราะไมํจ าเป็นต๎องขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะเกษตรกรที่มี
                       รายได๎จากนอกภาคการเกษตรและไมํได๎พึ่งพิงรายได๎หลักจากการปลูกข๎าว นอกจากนี้การมีหนี้สินนําจะเป็นปัจจัย
                       หลักส าคัญที่ท าให๎เกษตรกรเข๎ารํวมโครงการฯ เชํนกันจากการส ารวจพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางมี
                       หนี้สินเฉลี่ย 264,353 บาทสูงกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ ที่มีหนี้สินเฉลี่ย 1560,200 บาท (ตารางที่ 5.4)
                                                                                                        43
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76