Page 67 -
P. 67
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เคยเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. มีความนําจะเป็นในการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวํากลุํมที่ไมํ
เคยเข๎ารํวมโครงการฯ ซึ่งเกษตรกรสํวนใหญํรู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง แตํการรู๎จักโครงการฯ ไมํมีผลตํอการตัดสินใจ
จัดเก็บข๎าวของเกษตรกร เชํนเดียวกับการเป็นสมาชิกของสถาบันการเงินหรือการรวมกลุํมเกษตรกร แม๎วําผลการ
ประมาณคําสัมประสิทธิ์ที่เป็นบวก ซึ่งสมาชิกของกลุํมอาจจะท าให๎ตัดสินใจเก็บข๎าวไว๎รอราคาเพิ่มขึ้นแตํไมํพบ
ความสัมพันธ์อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติจากตัวแปรดังกลําว
การวิเคราะห์แบบจ าลอง marginal effect ซึ่งก าหนดให๎ปัจจัยอื่นๆ คงที่เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัว
แปรอิสระแตํละปัจจัยกับตัวแปรตาม ผลการศึกษาแสดงให๎เห็นวําคําสัมประสิทธิ์การประมาณคําของตัวแปรตาม
เป็นไปในทิศทางเดียวกับผลการวิเคราะห์คําสัมประสิทธิ์ในแบบจ าลองหลัก ส าหรับการวิเคราะห์ความนําจะเป็นของ
การตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรแสดงดังตารางที่ 4.7 ซึ่งความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ
ไว๎รอราคาของเกษตรกรตัวอยํางเทํากับ 47.4% เมื่อจ าแนกตามสภาพแวดล๎อมการผลิตและรูปแบบการผลิต ผล
การศึกษาสอดคล๎องกับแบบจ าลองดังกลําวคือเกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไปในพื้นที่นาน้ าฝนมีความนําจะเป็นในการ
ตัดสินใจจัดเก็บข๎าวเพื่อรอราคาขายมากกวําเกษตรกรกลุํมอื่นๆ ในขณะที่เมื่อจ าแนกตามภูมิภาคจะพบวําเกษตรกร
ในเขตภาคอีสานใต๎มีความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคา 64.4% สูงกวําเกษตรกรในภาคอีสานกลางและ
อีสานเหนือที่มีความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวไว๎เพื่อรอราคาเพียง 39.8 และ 8.6% ตามล าดับ
ตารางที่ 4.8 คําความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร จ าแนกตามสภาพแวดล๎อมการผลิตและ
การตัดสินใจจัดเก็บข๎าว
รูปแบบการผลิต/ภูมิภาค ความน่าจะเป็นของการจัดเก็บข้าวไว้รอราคา (Probability of storage)
Mean Std.Dev. min max
รูปแบบการผลิต
ปลูกข๎าวทั่วไป-นาน้ าฝน 0.611 0.276 0.027 0.990
ปลูกข๎าวอินทรีย์-นาน้ าฝน 0.441 0.280 0.011 0.951
ปลูกข๎าวทั่วไป-นาชลประทาน 0.158 0.150 0.007 0.581
ภูมิภาค
อีสานเหนือ 0.086 0.072 0.007 0.266
อีสานกลาง 0.395 0.235 0.036 0.873
อีสานใต๎ 0.644 0.263 0.066 0.990
รวม 0.474 0.307 0.007 0.990
ที่มา: จากการค านวณ
สรุป
การเก็บข๎าวของเกษตรกรมีวัตถุประสงค์หลักคือ 1) เก็บไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2) เก็บไว๎เพื่อเป็นเมล็ด
พันธุ์ และ 3) เก็บไว๎ขาย เกษตรกรที่เก็บผลผลิตไว๎ขายจะมีประมาณ 23.26% จากข๎อมูลพบวําเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎
ขายหรือเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํจะเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30
ไรํขึ้นไป พื้นที่นาน้ าฝนมีสัดสํวนของเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําในพื้นที่ชลประทาน โดยเกษตรกรในพื้นที่
ชลประทานสํวนใหญํขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวและเก็บผลผลิตข๎าวไว๎ขายเพียง 13.33% เนื่องจากเกษตรกรสํวน
ใหญํจ าเป็นต๎องน าเงินไปใช๎ลงทุนและใช๎แรงงานเพื่อเตรียมดินในฤดูนาปรังจึงขาดแคลนแรงงานในการตากข๎าว
ในขณะที่เกษตรกรที่มียุ๎งฉางมีจ านวนเกษตรกรที่ขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวน๎อยกวําเกษตรกรที่ไมํมียุ๎งฉาง ซึ่งกวํา
93.44% ของเกษตรกรที่ไมํมียุ๎งฉาง ขายข๎าวทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวโดยไมํเก็บไว๎รอราคา และเกษตรกรในภาคอีสาน
ใต๎มีสัดสํวนของเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามากที่สุด
ต๎นทุนการปลูกข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาเฉลี่ย 5,066 บาทตํอตัน โดย
เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีต๎นทุนการผลิตต่ าที่สุดเฉลี่ยเพียง 4,860 บาทตํอตัน ในขณะที่เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎
ขายและเก็บไว๎บริโภคมีต๎นทุนการผลิตข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดไมํแตกตํางกันมากนัก เมื่อประเมินผลตอบแทนสํวน
เพิ่มจากการจัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิไว๎รอขายหลังฤดูเก็บเกี่ยว จะพบวํา การจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคาจะท าให๎
39