Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       แล๎วเกษตรกรจะมีต๎นทุนสํวนเพิ่มเฉลี่ยประมาณ 526 และ 590 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ 3 เดือน
                       และ 6 เดือนตามล าดับ เกษตรกรจะมีก าไรเหนือต๎นทุนเงินสดเพิ่มขึ้นจาก 4,954 บาทตํอตัน เป็น 9,518 และ
                       10,224 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ 3 เดือน และ 6 เดือนตามล าดับ (ตารางที่ 4.5)  เนื่องจากในปี
                       2561 ราคาข๎าวหอมมะลิเพิ่มสูงขึ้นมากหลังผํานชํวงฤดูเก็บเกี่ยว โดยราคาข๎าวหอมมะลิที่เกษตรกรได๎รับเทํากับ
                       15,110 บาทตํอตัน ในเดือนมีนาคม และ 15,880 บาทตํอตัน ในเดือนมิถุนายน 2561 (ส านักงานเศรษฐกิจ
                       การเกษตร, 2561) อยํางไรก็ตามหากประเมินผลตอบแทนสํวนเพิ่มจากการจัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิไว๎รอขายหลัง
                       ฤดูเก็บเกี่ยว จะพบวํา การจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคาจะท าให๎เกษตรกรได๎ผลตอบแทนมากกวําต๎นทุนสํวนเพิ่มนั้น ราคา
                       ข๎าวหอมมะลิที่เกษตรกรได๎รับต๎องเพิ่มขึ้นมากกวํา 526 บาทตํอตัน และ 533 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอม
                       มะลิ 3 เดือน และ 6 เดือนตามล าดับ (ตารางที่ 4.5)


                       ตารางที่ 4.5  ต๎นทุนสํวนเพิ่มจากการจัดเก็บข๎าวเปลือกและประมาณการผลตอบแทนจากการปลูกข๎าว ในกรณีที่
                                 เกษตรกรเก็บผลผลิตไว๎รอราคา
                                                                 สภาพแวดล้อมการผลิต   การตัดสินใจจัดเก็บ  รวม
                                                                  นาน้ าฝน   ชลประทา ไม่เก็บ  ข้าว เก็บไว้
                                   ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
                                                                               น
                                                                ทั่วไป  อินทรี ข้าวทั่วไป   ไว้ขาย   ขาย
                                                                       ย์         บาท/ตัน
                                      1/
                       รายได๎จากการขายข๎าว                      10,03 10,27    9,524  10,003   10,038  10,02
                                     2/
                                                                                                         0
                       ต๎นทุนในการปลูกข๎าว                      5,071     1    4,860   5,147    5,049  5,066
                                                                   5  5,195
                       ก าไรเหนือต๎นทุนเงินสดที่เกษตรกรได๎รับ    4,964  5,076   4,664   4,856   4,989  4,954
                       กรณีเกษตรกรเก็บข้าวไว้รอราคา
                       ต๎นทุนในการปลูกข๎าว (รวมคําตาก)          5,394  5,567   5,162   5,498    5,378  5,402
                                               3/
                       น้ าหนักข๎าวเปลือกที่ลดลง (กิโลกรัม)      9.25  9.56     5.42    6.41    11.43  8.77
                       ปริมาณต๎นข๎าวที่ลดลง (%)                  8.23  7.55     8.22    7.98     8.00  7.99
                       ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการสูญเสียน้ าหนักข๎าวและต๎นข๎าว 3   199  199   141   154   230  190
                          4/
                       เดือน                                     265  261       205      217     297  254
                       ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการสูญเสียน้ าหนักข๎าวและต๎นข๎าว 6
                          4/
                       รวมต๎นทุนเงินสด: กรณีเก็บข๎าวไว๎ 3 เดือน
                       เดือน                                    5,593  5,766   5,303   5,652    5,608  5,592
                       รวมต๎นทุนเงินสด: กรณีเก็บข๎าวไว๎ 6 เดือน   5,659  5,828   5,367   5,715   5,675  5,656
                       ก าไรเหนือต๎นทุนเงินสด: (เก็บข๎าวไว๎ 3 เดือน)    9,517  9,344   9,807   9,458   9,502  9,518
                       ก าไรเหนือต๎นทุนเงินสด: (เก็บข๎าวไว๎ 6 เดือน)   10,22 10,05  10,513  10,165   10,205  10,22
                                 5/
                       ต้นทุนส่วนเพิ่ม                             1      2                              4
                       กรณีเกษตรกรเก็บข๎าวไว๎ 3 เดือน (บาท/ตัน)   522  571      443      505     559  526
                       กรณีเกษตรกรเก็บข๎าวไว๎ 6 เดือน (บาท/ตัน)   588  633      507      568     626  590
                                                                     2/
                                                                                         3/
                               1/
                       หมายเหตุ: ค านวณจากราคาข๎าวเฉลี่ยที่เกษตรกรได๎รับในชํวงเก็บเกี่ยว;  ยังไมํรวมต๎นทุนการตากข๎าว;  หาจาก %ความชื้นเฉลี่ย
                                                             4 /
                              ของข๎าวเปลือกที่ลดลงคูณด๎วยน้ าหนักข๎าว 1 ตัน;  ค านวณจากน้ าหนักข๎าวที่ลดลงตํอตันคูณด๎วยราคาข๎าวเปลือกหอมมะลิ
                              จากส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร: เดือนมีนาคม (15,110 บาทตํอตัน) และเดือนมิถุนายน (15,880 บาทตํอตัน) บวกกับ
                                                                                      5/
                              (ปริมาณต๎นข๎าวที่ลดลงคูณด๎วยสํวนตํางของราคาต๎นข๎าวและข๎าวทํอน), กรมการค๎าภายใน;   ค านวณจากต๎นทุนคําตากข๎าว
                              (คําแรงงาน คําวัสดุอุปกรณ์ และคําขนสํง) + ต๎นทุนน้ าหนักข๎าวและเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวที่สูญเสียไป
                       ที่มา: จากการค านวณ

                       ปัจจัยด้านสังคมและการสื่อสาร

                              สังคมและการสื่อสาร เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข๎องกับกลุํมคนในฐานะประชากรที่เป็นสมาชิกของสังคม เชํน
                       ประเพณี วัฒนธรรมความเชื่อ และการพูดคุยแลกเปลี่ยนแนวคิดกับเกษตรกรรายอื่นผํานการรวมกลุํมเกษตรกร
                       เพื่อนบ๎านหรือการสํงเสริมจากเจ๎าหน๎าที่สํงเสริมการเกษตรกรของรัฐ ซึ่งการตัดสินใจของเกษตรกรทั้งการยอมรับ
                       เทคโนโลยีหรือแนวการปฏิบัติทางการเกษตรจะเกี่ยวข๎องกับปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสารเชํนกัน (Xiong, 2016)
                       จากการส ารวจข๎อมูล พบวํา เกษตรกรเป็นสมาชิกของสถาบันการเงิน เชํน ธ.ก.ส. หรือสหกรณ์การเกษตร มี
                       ประมาณ 62.24%  โดยเกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎ขายมีสัดสํวนเกษตรกรที่เป็นสมาชิกสถาบันการเงินมากกวํา

                                                                                                        35
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68