Page 59 -
P. 59
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หากมองในแงํภูมิภาคหรือภูมิศาสตร์พื้นที่ศึกษา จะพบความแตกตํางของการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของ
เกษตรกรกลําวคือเกษตรกรในพื้นที่ภาคอีสานใต๎ซึ่งเป็นแหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิที่ส าคัญที่สุดในภูมิภาคและ
เกษตรกรสํวนใหญํบริโภคข๎าวหอมมะลิเป็นหลัก การปลูกข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่นี้มีวัตถุประสงค์ทั้งเพื่อ
ขายและบริโภคในครัวเรือน มีสัดสํวนเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามากที่สุดคือเกษตรกร 16.96% เก็บข๎าวไว๎เพื่อ
ขายและเกษตรกร 45.61% เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ในขณะที่เกษตรกรในเขตพื้นที่อีสานเหนือ ซึ่งเกษตรกร
สํวนใหญํบริโภคข๎าวเหนียวเป็นหลักและแบํงพื้นที่สํวนหนึ่งไว๎ปลูกข๎าวหอมมะลิเพื่อขายและเกษตรกรจะปรับเปลี่ยน
สัดสํวนพื้นที่เพาะปลูกข๎าวตามการเปลี่ยนแปลงราคาข๎าวในปีที่ผํานมา(Kongrithi and Isvilanonda, 2009) หากปี
ใดข๎าวหอมมะลิมีราคาสูงจะมีสัดสํวนพื้นที่การปลูกข๎าวหอมมะลิในปีตํอมาเพิ่มขึ้นด๎วยเชํนกัน โดยพบวําหลังจากเก็บ
เกี่ยวข๎าวแล๎วเกษตรกรจะเก็บข๎าวไว๎รอราคาเพียง 4% ไมํมีเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางเลย สํวนอีก
96% เก็บไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือเป็นเมล็ดพันธุ์ในฤดูกาลถัดไปเทํานั้น (ตารางที่ 4.1)
สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรตัวอย่าง
ปัจจุบันเกษตรกรสํวนใหญํ ใช๎รถเกี่ยวนวดในการเก็บเกี่ยวข๎าว ผลผลิตข๎าวที่ได๎จะเป็นข๎าวสดมีความชื้น
ประมาณ 20-30% ดังนั้นหากเกษตรกรตัดสินใจเก็บข๎าวเพื่อรอราคาจ าเป็นต๎องตากข๎าวเพื่อลดความชื้นให๎เหลือ
น๎อยกวํา 15% เพื่อไมํให๎เกิดความเสียหายของผลผลิต ซึ่งกิจกรรมการตากข๎าวเพื่อลดความชื้นและการขนสํงข๎าวขึ้น
ยุ๎งฉางเป็นกิจกรรมที่จ าเป็นต๎องท าด๎วยแรงงานคนเพราะเกษตรกรไมํมีเครื่องอบเพื่อลดความชื้นเหมือนโรงสีใหญํ
ปัจจัยด๎านความเพียงพอของแรงงานในฟาร์มจึงอาจจะสํงผลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรด๎วยเชํนกัน ใน
การส ารวจปัจจัยด๎านแรงงานพบวํา เกษตรกรที่ท านามีอายุเฉลี่ยประมาณ 54-55 ปี โดยที่แรงงานหลักในการท านา
ของครัวเรือนสํวนใหญํ 63.75% เป็นเพศชาย มีครัวเรือนที่มีแรงงานหลักเป็นเพศหญิงเพียง 36.25% เทํานั้นอยํางไร
ก็ตามส าหรับเกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไปในพื้นที่นาน้ าฝน เพศหญิงมีบทบาทในการท านามากขึ้นโดยพบวําเกษตรกร
ประมาณ 43.56% เป็นครัวเรือนที่มีแรงงานหลักเป็นเพศหญิง ในขณะที่เกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามีสัดสํวน
แรงงานเพศหญิง 40.13% มากกวํากลุํมเก็บข๎าวไว๎บริโภคในครัวเรือนหรือใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์เทํานั้น ซึ่งการตากข๎าว
เป็นงานที่ไมํหนักมากเมื่อเทียบกับการไถเตรียมดินหรือการดูแลรักษาระหวํางกระบวนการปลูกอื่นๆ ดังนั้นการที่
ครัวเรือนมีแรงงานหลักเป็นเพศชายหรือเพศหญิงนําจะมีผลตํอการตัดสินใจของเกษตรกรไมํแตกตํางกันมากนัก
ปัจจัยส าคัญนําจะเป็นจ านวนแรงงานในครัวเรือน ซึ่งกระบวนการตากข๎าวสํวนใหญํจะใช๎แรงงานในครัวเรือน
มากกวําแรงงานจ๎างหากเกษตรกรขาดแคลนแรงงานในครัวเรือนก็นําจะเป็นปัจจัยส าคัญที่กระทบตํอการตัดสินใจ
จัดเก็บผลผลิตของเกษตรกร จากการส ารวจพบวําเกษตรกรมีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.50-2.98 คนตํอครัวเรือน
เป็นแรงงานที่ท างานในภาคเกษตรเฉลี่ย 2.18-2.34 คนตํอครัวเรือน และเป็นแรงงานเพศหญิงประมาณ 1.03-1.10
คนตํอครัวเรือน ซึ่งแรงงานหลักสํวนใหญํมีอาชีพหลักคือการท าเกษตรในฟาร์มของตนเอง โดยเกษตรกรกลุํมที่ปลูก
ข๎าวอินทรีย์และเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานจะมีสัดสํวนของเกษตรกรที่ประกอบอาชีพหลักนอกภาคการเกษตรสูง
กวําเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝน ทั้งนี้อาจเนื่องมากจากเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานหรือเกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์มี
ระดับการศึกษาสูงกวําเกษตรกรที่ปลูกข๎าวในพื้นที่นาน้ าฝน นอกจากนี้ยังมีสัดสํวนของประชากรที่ประกอบอาชีพ
ข๎าราชการหรือรับจ๎างในโรงงานมากกวํา ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนทั่วไปประกอบอาชีพค๎าขายหรือท า
ธุรกิจสํวนตัวมากกวํา ซึ่งโดยทั่วไปพื้นที่ในเขตชลประทานจะมีเศรษฐกิจดีกวําเขตพื้นที่นาน้ าฝน นอกจากนี้การท านา
ในปัจจุบันยังใช๎เครื่องจักรทดแทนแรงงานคนในเกือบทุกขั้นตอนการผลิต (ตารางที่ 4.2)
การประกอบอาชีพจะเชื่อมโยงกับรายได๎ของครัวเรือน เกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์มีรายได๎ครัวเรือนสูง
กวําประชากรกลุํมอื่นๆ สํวนหนึ่งเนื่องจากมีรายได๎จากนอกภาคการเกษตรสูงกวํากลุํมอื่น ในขณะที่เกษตรกรที่เก็บ
ข๎าวไว๎ขายมีรายได๎ครัวเรือนสูงกวําเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎บริโภคในครัวเรือน ซึ่งปัจจัยด๎านรายได๎นําจะสํงผลตํอการ
ตัดสินใจจัดเก็บข๎าวเชํนกัน นอกจากนั้นหนี้สินเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สํงผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าว โดย
คาดการณ์วําครัวเรือนที่มีภาระหนี้สินมากกวําจะมีแนวโน๎มที่จะขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวมากกวําครัวเรือนที่ไมํมี
หนี้สิน เพราะเกษตรกรจ าเป็นต๎องขายข๎าวเพื่อไปช าระหนี้ดังกลําวซึ่งสํวนใหญํแหลํงกู๎ยืมเงินของเกษตรกรจะมาจาก
ธ.ก.ส. เป็นหลัก ซึ่งก าหนดระยะเวลาช าระหนี้ของทุกปีจะเป็นชํวงหลังฤดูเก็บเกี่ยวหรือประมาณไมํเกินเดือนมีนาคม
ของทุกปี จากการส ารวจข๎อมูลพบวําเกษตรกรกวํา 70% ในพื้นที่ศึกษามีหนี้สิน โดยปริมาณหนี้สินของกลุํมตัวอยําง
เฉลี่ยประมาณ 183,840 บาทตํอครัวเรือน ในขณะที่เกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามีหนี้สินเฉลี่ย 208,675 บาท
ตํอครัวเรือน ซึ่งสูงกวําเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎บริโภคหรือใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์ และเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าว
31