Page 54 -
P. 54

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                        - การเก็บในกระสอบพลาสติกสานไมํเคลือบพลาสติกและเคยใช๎งานมาแล๎ว (กระสอบ
                       น้ าตาล-เกํา) บรรจุข๎าว 30 กิโลกรัม
                                        - การเก็บในกระสอบพลาสติกสานไมํเคลือบพลาสติกและเคยใช๎งานมาแล๎วส าหรับบรรจุ
                       อาหารสัตว์ (กระสอบอาหารสัตว์-ใหมํ) บรรจุข๎าว 25 กิโลกรัม
                                        - การเก็บในกระสอบพลาสติกสานเคลือบพลาสติกและเคยใช๎งานมาแล๎ว  ส าหรับบรรจุ
                       อาหารสัตว์ (กระสอบอาหารสัตว์-เกํา) บรรจุข๎าว 25 กิโลกรัม
                                        - การเก็บในกระสอบพลาสติกสานเคลือบพลาสติกและยังไมํเคยใช๎งานมากํอน (กระสอบปุ๋ย
                       แบบเคลือบ-ใหมํ) บรรจุข๎าว 30 กิโลกรัม
                                        - การเก็บในถุงตาขํายพลาสติก บรรจุข๎าว 25 กิโลกรัม
                                        - การเก็บแบบกองรวมกัน
                                     2) ปัจจัยที่ 2: ระยะเวลาการเก็บรักษา 6 ระยะ คือ 1, 2, 3, 4, 5, และ 6 เดือนหลังเก็บข๎าวเข๎า
                       ยุ๎งฉาง

                                 3.1.2 ชนิดข้าวที่ท าการศึกษา
                                     ศึกษาในข๎าวหอมมะลิ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ใน 2 รูปแบบการผลิต คือ

                                     1) การผลิตแบบทั่วไป (มีการใช๎ปุ๋ยเคมี และสารเคมีในกระบวนการผลิต) ของนางอุไร ราโช อยูํ
                       ที่บ๎านเลขที่ 77 หมูํที่ 11 บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร๎อยเอ็ด

                                     2)  การผลิตแบบอินทรีย์ (ได๎รับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทย) ของนาย
                       ณัฐวุฒิ อุํนประชา อยูํที่บ๎านเลขที่ 107 หมูํที่ 2 บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร๎อยเอ็ด
                                 3.1.3 รูปแบบของยุ้งฉางที่ท าการเก็บรักษาข้าว

                                     ท าการเก็บรักษาข๎าวหอมมะลิตามลักษณะของยุ๎งฉางที่มีการใช๎งานจริงของเกษตรกรในพื้นที่ที่
                       ท าการศึกษา ในยุ๎งฉาง 3 รูปแบบ คือ

                                     1)  การเก็บในยุ๎งฉางแบบไม๎ ตั้งอยูํที่วัดไตรภูมิ บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุรพักตรพิมาน
                       จังหวัดร๎อยเอ็ด
                                     2) การเก็บในยุ๎งฉางแบบสังกะสี ตั้งอยูํที่บ๎านเลขที่ 107 หมูํที่ 2 บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอ
                       จตุรพักตรพิมาน จังหวัดร๎อยเอ็ด ของนายณัฐวุฒิ อุํนประชา

                                     3) การเก็บในบ๎าน ตั้งอยูํที่บ๎านเลขที่ 24 หมูํที่ 2 บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุรพักตรพิมาน
                       จังหวัดร๎อยเอ็ด ของนายสุภีร์ วงศ์อินตา

                                 3.1.4 การด าเนินการทดลอง
                                     1) เลือกยุ๎งฉางที่มีขนาดใหญํเพียงพอที่จะสามารถเก็บตัวอยํางข๎าวในงานทดลอง ท าการบันทึก
                       ลักษณะทางกายภาพ และสภาพแวดล๎อมรอบของยุ๎งฉาง

                                     2) ด าเนินการเก็บรักษาข๎าวตามรูปแบบการเก็บรักษา 8 รูปแบบดังที่กลําวไว๎ข๎างต๎น รูปแบบละ
                       3 ซ้ า โดยจัดเรียงกระสอบ/ถุงที่บรรจุข๎าวเปลือกในยุ๎งฉางที่เลือกเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน

                                     3) บันทึกข๎อมูลเป็นรายเดือน ตามระยะเวลาการเก็บรักษา 6 ระยะ คือ 1, 2, 3, 4, 5, และ 6
                       เดือนหลังเก็บข๎าวเข๎ายุ๎งฉาง โดยท าการบันทึกดังนี้
                                        - อุณหภูมิและความชื้นในภาชนะ/รูปแบบที่เก็บรักษา โดยใช๎เทอร์โมมิเตอร์ และเครื่องวัด
                       ความชื้น
                                        - ความชื้นของข๎าวเปลือก วัดโดยใช๎เครื่องวัดความชื้นอัตโนมัติ
                                        - เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และเปอร์เซ็นต์เมล็ดหัก โดยน าตัวอยํางเมล็ด
                       ข๎าวเปลือกไปเป่าเพื่อท าความสะอาด จากนั้นชั่งน้ าหนัก 50 กรัม น าไปกะเทาะเปลือกโดยใช๎เครื่องขัดข๎าวขาว นาน
                       20 วินาที ชั่งและบันทึกน้ าหนักข๎าวหลังขัดขาว ท าการประเมินคุณภาพการสีข๎าวโดยประเมินต๎นข๎าว (เมล็ดข๎าวที่มี
                       ความยาวมากกวําข๎าวหักของแตํละชั้นคุณภาพแตํไมํถึงความยาวของข๎าวเต็มเมล็ดและให๎รวมถึงเมล็ดข๎าวแตกเป็น
                       ซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยูํตั้งแตํ 80% ของเมล็ดขึ้นไป) และเปอร์เซ็นต์ข๎าวหัก โดยใช๎เครื่องแยกข๎าวหัก ชั่งและบันทึก



                                                                                                        26
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59