Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 3.4 จ านวนตัวอยํางในแตํละพื้นที่ จ าแนกตามวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าวและการมียุ๎งฉาง
พื้นที่ศึกษา/ ครัวเรือนที่จัดเก็บข๎าว (แยกตามวัตถุประสงค์การจัดเก็บ) ครัวเรือนที่มียุ๎งฉาง
รายการ ทั้งหมด บริโภค+เมล็ดพันธุ์ บริโภคและ บริโภค+จ าน ายุ๎ง
ครัวเรือน ครัวเรือน % ครัวเรือน ครัวเรือน ครัวเรือน %
ฉาง %
จ าหนําย %
นครพนม-RF 30 28 93.3 2 6.7 0 0.0 25 83.3
นครพนม-IR 20 20 100.0 0 0.0 0 0.0 7 35.0
ยโสธร 30 27 90.0 2 6.7 1 3.3 21 70.0
มหาสารคาม 30 16 53.3 14 46.7 0 0.0 29 96.7
ร๎อยเอ็ด-RF 30 6 20.0 23 76.7 1 3.3 29 96.7
ร๎อยเอ็ด-IR 20 13 65.0 7 35.0 0 0.0 19 95.0
นครราชสีมา 30 7 23.3 3 10.0 20 66.7 24 80.0
อุบลราชธานี-RF 30 17 56.7 10 33.3 3 10.0 23 76.7
อุบลราชธานี-IR 20 19 95.0 1 5.0 0 0.0 10 50.0
ศรีสะเกษ 30 0 0.0 3 10.0 27 90.0 27 90.0
สุรินทร์ 30 12 40.0 4 13.3 14 46.7 29 96.7
บุรีรัมย์ 30 8 26.7 8 26.7 14 46.7 26 86.7
รวม 331 174 52.6 77 23.3 80 24.2 269 81.3
การวิเคราะห์ข้อมูลและแบบจ าลองที่ใช้
การศึกษาครั้งนี้เป็นการใช๎วิธีการศึกษาแบบผสม (Mixed method) โดยเป็นการวิจัยเชิงส ารวจรํวมกับ
การวิจัยเชิงทดลอง เพื่อให๎ได๎ข๎อเสนอแนะเชิงนโยบายที่มีประสิทธิภาพ โดยการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข๎อ 1-2
ใช๎รูปแบบการวิจัยเชิงส ารวจ และวัตถุประสงค์ข๎อที่ 3 ใช๎การวิจัยเชิงส ารวจรํวมกับการวิจัยเชิงทดลอง
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบและกระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกหอมมะลิ และ
ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษา
การวิเคราะห์ข๎อมูลตามวัตถุประสงค์ทั้งสองข๎อนี้จะใช๎สถิติเชิงพรรณนา ได๎แกํ คําเฉลี่ย ความถี่ และ
เปอร์เซ็นต์ เพื่อน าเสนอสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกและ
วิธีการจัดการยุ๎งฉางของเกษตรกร โดยเปรียบเทียบวิธีการจัดการยุ๎งฉางข๎าวของเกษตรกรตามวัตถุประสงค์การ
จัดเก็บข๎าว (เก็บไว๎เพื่อบริโภค เก็บไว๎เพื่อขายและเก็บไว๎ตามข๎อก าหนดของโครงการจ าน ายุ๎งฉาง) รวมทั้งการ
วิเคราะห์ความแตกตํางของวิธีการเพาะปลูก (ข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และข๎าวหอมมะลิทั่วไป) และการปลูกข๎าวใน
สภาพแวดล๎อมที่ตํางกัน (พื้นที่นาน้ าฝนและชลประทาน)
ส าหรับการวิเคราะห์ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือกในแตํละวิธี จะวิเคราะห์เฉพาะต๎นทุนที่เป็น
เงินสดเนื่องจากเป็นต๎นทุนสํวนเพิ่มที่เกษตรกรไมํมีในครัวเรือนต๎องจํายออกไปเป็นเงินสดและเป็นต๎นทุนที่นําจะมี
ความสัมพันธ์กับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร โดยต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวแตํละวิธีจะประเมิน
จากต๎นทุนการผลิตข๎าวทั้งหมดลบด๎วยต๎นทุนการผลิตข๎าวตั้งแตํปลูกจนกระทั่งถึงเก็บเกี่ยว ดังนั้นต๎นทุนสํวนเพิ่มของ
การจัดเก็บข๎าวจึงหมายถึงต๎นทุนที่เกิดจากกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว ได๎แกํ คําจ๎างแรงงานในการตากข๎าว คําขนสํง
ข๎าวขึ้นยุ๎งฉาง คํากระสอบหรือบรรจุภัณฑ์ คําน้ ามัน และคําเลี้ยงดูแรงงานแลกเปลี่ยน ดังนี้
ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าว = ต๎นทุนการผลิตทั้งหมด – ต๎นทุนการปลูกข๎าวถึงกิจกรรมเก็บเกี่ยว
ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าว = คําจ๎างแรงงานตากข๎าว + คําขนสํง + คําน้ ามัน + คํากระสอบหรือ
บรรจุภัณฑ์
22