Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2) การสุํมตัวอยํางเกษตรกรต๎องประกอบด๎วยเกษตรกรที่มียุ๎งฉางและไมํมียุ๎งฉาง (จัดเก็บข๎าวใน
บ๎านหรือพื้นที่ตํอเติมรอบบ๎าน) โดยกลุํมตัวอยํางเกษตรกรจะกระจายตัวตามสถานที่เก็บข๎าวของเกษตรกรตัวอยําง
ซึ่งสอดคล๎องกับข๎อมูลใน sampling frame
3) เกษตรกรตัวอยํางต๎องเต็มใจที่จะให๎ข๎อมูล เป็นเกษตรกรที่สามารถให๎ข๎อมูลการเพาะปลูกข๎าว
และการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวได๎ และยินดีให๎คณะวิจัยสุํมเก็บตัวอยํางข๎าวในสถานที่เก็บข๎าว ทั้งนี้เกษตรกรต๎องมี
ผลผลิตข๎าวเปลือกหอมมะลิจ านวนมากพอส าหรับการสุํมตัวอยํางครั้งที่สองในชํวงประมาณปลายเดือนเมษายนถึง
ต๎นเดือนพฤษภาคม เชํน หากเกษตรกรจัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิในกระสอบต๎องมีข๎าวหอมมะลิเหลืออยํางน๎อย 5
กระสอบ โดยกระสอบต๎องจัดเรียงเหมือนกับการสุํมตัวอยํางในครั้งที่ 1 การด าเนินการสุํมตัวอยํางจะใช๎รูปแบบ
เดียวกันทั้งในพื้นที่ชลประทานและพื้นที่นาน้ าฝน จากเงื่อนไขการสุํมตัวอยํางข๎างต๎น ได๎กลุํมตัวอยํางเกษตรกรในแตํละ
พื้นที่ ดังตารางที่ 3.4
ตารางที่ 3.3 จ านวนครัวเรือนที่ปลูกข๎าวและวัตถุประสงค์ของการจัดเก็บข๎าวในพื้นที่ศึกษา (ข๎อมูลจาก listing)
พื้นที่ศึกษา/ ครัวเรือนที่ ครัวเรือนที่ปลูก ปลูกข๎าว ครัวเรือนที่จัดเก็บข๎าว (แยกตามวัตถุประสงค์การจัดเก็บ) ครัวเรือน รวม
รายการ ปลูกข๎าว ข๎าวหอมมะลิ อินทรีย์ ทั้งหมด บริโภคและเป็น บริโภค เป็น บริโภค เป็น ที่มียุ๎งฉาง
เมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์และ
และจ าหนําย จ าน ายุ๎งฉาง
ครัวเรือน % ครัวเรือน % ครัวเรือน ครัวเรือน % ครัวเรือน % ครัวเรือน % ครัวเรือน % ครัวเรือน % ครัวเรือน
นครพนม-RF 121 72.0 94 77.7 62 89 94.7 65 73.0 17 19.1 7 7.9 76 62.8 168
นครพนม-IR 88 67.2 60 68.2 0 48 80.0 41 85.4 7 14.6 0 0.0 13 14.8 131
ยโสธร 76 81.7 69 90.8 41 63 91.3 35 55.6 28 44.4 0 0.0 41 53.9 93
มหาสารคาม 56 75.7 49 87.5 7 49 100.0 19 38.8 30 61.2 0 0.0 50 89.3 74
ร๎อยเอ็ด-RF 128 80.0 120 93.8 31 87 72.5 28 29.5 54 56.8 5 5.3 112 87.5 160
ร๎อยเอ็ด-IR 66 55.5 60 90.9 2 35 58.3 23 65.7 12 34.3 0 0.0 49 74.2 119
นครราชสีมา 86 89.6 86 100.0 27 80 93.0 28 35.0 10 12.5 42 52.5 68 79.1 96
อุบลราชธานี-RF 196 87.5 190 96.9 13 189 99.5 177 93.7 10 5.3 2 1.1 145 74.0 224
อุบลราชธานี-IR 85 72.6 66 77.6 1 52 78.8 30 57.7 22 42.3 0 0.0 14 16.5 117
ศรีสะเกษ 100 79.4 100 100.0 17 98 98.0 46 46.9 23 23.5 29 29.6 70 70.0 126
สุรินทร์ 54 60.0 54 100.0 21 54 100.0 16 30.8 24 46.2 14 26.9 52 96.3 90
บุรีรัมย์ 53 63.1 53 100.0 29 53 100.0 23 47.9 16 33.3 14 29.2 44 83.0 84
รวม 1,109 74.8 1,001 90.3 251 897 89.6 531 59.1 253 28.2 113 12.6 734 66.2 1,482
ชลประทาน 239 65.1 186 77.8 3 135 72.6 94 69.6 41 30.4 0 0.0 76 31.8 367
นาน้ าฝน 870 78.0 815 93.7 248 762 93.5 437 57.3 212 27.8 113 14.8 658 75.6 1,115
หมายเหตุ: RF หมายถึง พื้นที่นาน้ าฝน; IR หมายถึง พื้นที่ชลประทาน
ที่มา: จากการส ารวจ
21