Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3
วิธีการด าเนินการวิจัย
วิธีการด าเนินการวิจัยเป็นเสมือนคูํมือการด าเนินงานซึ่งนักวิจัยสร๎างขึ้นเพื่อให๎การด าเนินการวิจัยเป็นไป
ตามวัตุประสงค์และแผนการด าเนินงานที่วางไว๎ การน าเสนอข๎อมูลในบทนี้จึงเป็นการแสดงขั้นตอนของการ
ด าเนินการวิจัยและกรอบแนวคิดของการศึกษา ซึ่งแสดงให๎เห็นกรอบประชากรตัวอยําง วิธีการก าหนดตัวอยํางและ
ขนาดของตัวอยําง ขั้นตอนและวิธีการสุํมตัวอยําง วิธีการวิเคราะห์ข๎อมูล แบบจ าลอง ตัวแปรที่ใช๎ในการศึกษาและ
สถิติที่ใช๎ในการวิเคราะห์ข๎อมูล
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
ข๎อมูลที่ใช๎ในการศึกษาแบํงเป็น 2 ประเภท ได๎แกํ
- ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข๎อมูลพื้นฐานด๎านพื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต แหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ มาตรฐาน
คุณภาพข๎าวหอมมะลิ ปัจจัยที่เกี่ยวข๎องกับคุณภาพข๎าว ที่รวบรวมจากเอกสารวิชาการตํางๆ และ/หรือ จาก
ฐานข๎อมูลของหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องได๎จัดท าขึ้น เชํน ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมสํงเสริมการเกษตร กรมการ
ข๎าว กรมศุลกากร กรมการค๎าภายใน และกรมวิชาการเกษตร เป็นต๎น รวมทั้งข๎อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของวิธีการ
จัดการและสภาพแวดล๎อมการผลิตที่เกี่ยวข๎องกับคุณภาพของข๎าวหอมมะลิจากงานวิจัยที่ผํานมา
- ข้อมูลปฐมภูมิ ข๎อมูลในสํวนนี้จะมาจาก 3 แหลํง ได๎แกํ
1) ข๎อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่ศึกษา ซึ่งเป็นข๎อมูลที่เกี่ยวข๎องกับสถานภาพทั่วไปของ
ครัวเรือน การใช๎ประโยชน์จากที่ดิน การปลูกข๎าวและการใช๎ปัจจัยการผลิต แรงงาน พันธุ์ข๎าวที่ใช๎และแหลํงที่มาของ
เมล็ดพันธุ์ ข๎อมูลเชิงประวัติศาสตร์ของยุ๎งฉาง รูปแบบและกระบวนการจัดเก็บข๎าวเปลือกของเกษตรกร ต๎นทุนการ
จัดเก็บข๎าวเปลือกทั้งต๎นทุนที่เป็นเงินสดและไมํใชํเงินสด ข๎อมูลด๎านกายภาพของยุ๎งฉาง วิธีการปฏิบัติของเกษตรกร
ในการจัดเก็บข๎าวเปลือก ระยะเวลาการจัดเก็บ ปัญหาอุปสรรคในการจัดเก็บ ความรู๎ของเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีการ
จัดเก็บข๎าวและการจัดการยุ๎งฉาง
2) ข๎อมูลจากการจัดเก็บตัวอยํางข๎าวเปลือกจากยุ๎งฉางเกษตรกร เพื่อวิเคราะห์คุณภาพข๎าว ได๎แกํ
ปริมาณสาร 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือก เป็น
ข๎อมูลที่ได๎จากการวิเคราะห์ในห๎องปฏิบัติการ โดยการสุํมเก็บตัวอยํางข๎าวจากยุ๎งฉางของเกษตรกรจัดเก็บ 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 จัดเก็บประมาณเดือนมกราคม 2561 และครั้งที่ 2 หลังจากจัดเก็บข๎อมูลครั้งแรกประมาณ 3 เดือน เพื่อ
ค านวณเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยคุณภาพทั้ง 4 ตัวแปร
3) ข๎อมูลจากการวิจัยเชิงทดลอง ได๎แกํ ปริมาณสาร 2-acetyl-1-pyrroline เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว
เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือก ซึ่งเป็นข๎อมูลที่ได๎จากการเก็บข๎อมูลในสถานที่ทดลองและการ
ทดสอบในห๎องปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์หาความแตกตํางของวิธีการเก็บรักษา 8 รูปแบบ โดยอ๎างอิงจากวิธีปฏิบัติ
ของเกษตรกร ที่ระยะการเก็บรักษา 6 ระยะ คือ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน เพื่อหาวิธีการที่สามารถรักษาคุณภาพ
ข๎าวไว๎ได๎มากที่สุด
ประชากรและการก าหนดขนาดตัวอย่าง
พื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 80% ของไทยอยูํในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้นประชากรใน
การศึกษา คือเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉางของตนเองกํอนน าไป
ขาย ซึ่งไมํมีข๎อมูลสถิติอ๎างอิงจ านวนเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิที่มียุ๎งฉางหรือเก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉาง ดังนั้นการวิจัย
ครั้งนี้จะเป็นการก าหนดขนาดตัวอยํางโดยไมํทราบคําประชากร ใช๎วิธีการประมาณคําจากสัดสํวนประชากร(วันทนีย์,
2560) ดังสมการที่ (3.1)
17