Page 43 -
P. 43
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และคณะ, 2556) การเก็บเกี่ยวข๎าวที่แกํจัดอาจจะท าให๎สารที่มีความหอมระเหยไปได๎ จึงควรเก็บเกี่ยวระยะ
พลับพลึง (แสงนวล, 2548)
3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความหอม
การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว ก็มีสํวนท าให๎ความหอมเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากกลิ่นหอมเป็นสารที่
ระเหยได๎งําย (แสงนวล, 2548) การลดความชื้นในเมล็ด เป็นปัจจัยที่ส าคัญอยํางมากตํอการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
สารหอม 2-acetyl-1-pyrroline โดยเมล็ดข๎าวที่ลดความชื้นโดยวิธีการตากแดด มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-
pyrroline สูงกวําวิธีการอบ ทั้งการอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 3 วัน และการอบที่อุณหภูมิ 60 องศา
เซลเซียส นาน 2 วัน นอกจากนี้ยังพบวํา ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline จะลดลงตามระยะเวลาการเก็บ
รักษา โดยลดลงมากหลังเก็บรักษานาน 5 เดือน ดังนั้น การลดความชื้นโดยการตากแดด สามารถคงความหอมได๎
ดีกวําการอบ และควรเก็บรักษาข๎าวไมํเกิน 5-6 เดือน (กฤษณา และคณะ, 2558; รณชัย และคณะ, 2558)
นอกจากนี้ยังมีรายงานการศึกษาเรื่องการลดความชื้นขาวเปลือกพันธุปทุมธานี 1 โดย 1) การตากแดด 10 ชั่วโมง 2)
การใชเครื่องสเปาเต็ดเบด (Spouted bed) อุณหภูมิ 115 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2 นาทีรวมกับการท า
tempering เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นลดความชื้นดวยตูอบลมรอนอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 7 ชั่วโมง และ
3) การใชเครื่องสเปาเต็ดเบดอุณหภูมิ 115 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 นาทีรวมกับการท า tempering เปนเวลา 30
นาทีจากนั้นลดความชื้นดวยเครื่องสเปาเต็ดเบดอุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 นาทีพบวา ความชื้นของ
ขาวเปลือกลดลงใกลเคียงกัน (14.8-15.01% ของมาตรฐานเปยก) การลดความชื้นดวยวิธีการตากแดดสามารถลด
การสูญเสียปริมาณสาร 2-acetyl-1-pyrroline (ACPY) ที่ตรวจวิเคราะหดวยเครื่อง Gas Chromatography-FID
ไดดีกวาการลดความชื้นดวยกระบวนการที่ 3 และ 2 ตามล าดับ (พรรณนภา และคณะ, 2548)
ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในข๎าวเปลือกที่เก็บรักษาในอุณหภูมิห๎องลดลงอยํางรวดเร็ว
ในเดือนที่ 2 และ 3 (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547) โดยพบวําการเก็บข๎าวเปลือกที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส นาน 3
เดือน สามารถคงความหอมได๎มากกวําการเก็บในสภาพอุณหภูมิห๎อง 1.38 เทํา และยังพบวําภาชนะบรรจุที่ตํางกัน
สํงผลให๎เกิดการสูญเสียปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ได๎ตํางกันอีกด๎วย (Maneenuam et al., 2557)
จากการตรวจเอกสารงานวิจัยที่ผํานมาที่เกี่ยวข๎องกับรูปแบบการจัดเก็บข๎าวในประเทศตํางๆ ปัจจัยที่มี
ผลตํอการตัดสินใจของเกษตรกร คุณภาพตามมาตรฐานการซื้อขายข๎าว การเขตกรรมและกระบวนการเก็บเกี่ยว
รวมถึงการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่มีผลตํอคุณภาพและความหอมของข๎าว จะน าไปสูํการสร๎างวิธีการศึกษาและกรอบ
แนวคิดของการวิจัย ได๎ดังนี้
15