Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภาพที่ 2.5 แผนที่แสดงสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ของตัวอยํางข๎าวจากพื้นที่นาทั้งหมดในเขต
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูนาปี 2554
ที่มา: กฤษณา และคณะ (2558)
ในสํวนของวิธีการจัดการของแหล่งผลิต ซึ่งในที่นี้หมายถึง การปลูกในรูปแบบที่ตํางกัน การดูแล
รักษา ซึ่งหมายถึงการจัดการน้ า การจัดการธาตุอาหาร และการให๎สภาวะเครียดแบบตํางๆ พบวํา วิธีการจัดการ
แปลงปลูกที่ตํางกันมีการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline แตกตํางกันโดยสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline
จากแปลงเกษตรกรทั่วไป แปลงที่ผํานการรับรองเกษตรดีที่เหมาะสม (good agricultural practice: GAP) หรือ
แปลง GAP และแปลงอินทรีย์ จ านวน 1,318 ตัวอยําง มีปริมาณสาร 2-acetyl-1-pyrroline ที่ 0.64-12.28, 1.51-
10.78 และ 1.98-11.10 ppm ตามล าดับ (กฤษณา และคณะ, 2558) นอกจากนี้วิธีการปลูกตํางรูปแบบกัน ยัง
สํงผลให๎มีการสร๎างและการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline แตกตํางกัน โดยการปลูกแบบนาหวําน เมล็ดมี
การสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากกวําการปลูกแบบนาด าอยํางมีนัยส าคัญ (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547)
ลักษณะเชํนนี้พบได๎เชํนเดียวกันในงานของ Goufo et al. (2010) ที่พบวําการปลูกในระยะชิด สํงผลให๎มีปริมาณ
สารหอมมากที่สุด
การจัดการน้ าในแปลงปลูก เป็นปัจจัยที่ส าคัญอีกประการหนึ่งที่สํงผลตํอการสะสมสารหอม 2-
acetyl-1-pyrroline โดยพบวําเมื่อข๎าวเกิดสภาวะขาดน้ า จะสํงเสริมให๎มีการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline
มากขึ้น(ศักดิ์ดา และคณะ, 2547) ผลจากการขาดน้ าหลังออกดอก 7 วัน ท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-
pyrroline ในเมล็ดข๎าวขาวดอกมะลิ 105 และกข 15 สูงสุด ทั้งในสภาพเรือนทดลองและแปลงปลูก โดยการขาด
น้ าในระยะหลังออกดอก 14 วัน ที่ระดับความลึกของดิน 25 เซนติเมตร มีผลกระทบน๎อยที่สุดตํอผลผลิตรวมทั้ง
ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline การปลูกในสภาพดินทรายที่มีการสูญเสียน้ าได๎งํายกวําสภาพดินเหนียว ท า
ให๎เกิดการสร๎างและสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ได๎ดีกวํา และการขาดน้ าไมํวําในระยะใดไมํสํงผลกระทบ
ตํอคุณภาพข๎าวทั้งทางกายภาพและทางเคมีในข๎าวหอมมะลิทั้ง 2 พันธุ์ (รณชัย และคณะ, 2558) การจัดการน้ าใน
พื้นที่ที่มีดินเค็มตํางกัน สํงผลตํอปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline เชํนเดียวกัน โดยภายใต๎สภาพดินเค็ม
เดียวกันในสภาวะขาดน้ าจะสํงเสริมให๎มีการสร๎างและสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากกวํา เมื่อ
เปรียบเทียบกับสภาพไมํขาดน้ า สภาพการขังน้ าก็มีอิทธิพลตํอปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline โดยใน
สภาพให๎น้ าปกติที่มีการขังน้ าแบบเปียกสลับแห๎ง 4 วัน เป็นสภาพที่ท าให๎มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline
มากกวําการขังน้ าตลอดเวลา (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547)
นอกจากนี้ยังพบวําความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งหมายถึงธาตุอาหารที่อยู่ในดินสํงผลตํอการสะสมสาร
หอม 2-acetyl-1-pyrroline โดยผลจากการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรแตํละตัวแปรโดยการพิจารณา loading
plot พบวํา ตัวแปรจากปริมาณของธาตุฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม และอินทรีย์วัตถุสํงผลตํอการ
13