Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ที่กระทรวงพาณิชย์ประกาศเป็นข๎าวหอมไทย จะมีลักษณะเปลือกสีฟาง เมล็ดเรียวยาว ปลายเมล็ดโค๎งเล็กน๎อย ข๎าว
                       กล๎องใส มีความเลื่อมมัน จมูกเล็ก (สํวนที่เป็นคัพภะ) ซึ่งเป็นลักษณะที่ดีของข๎าวสาร (แสงนวล, 2548)
                                 นอกจากนั้นลักษณะทางกายภาพที่ต๎องให๎ความส าคัญคือ การเกิดข๎าวท๎องไขํ (chalky grain) ลักษณะ
                       ของข๎าวท๎องไขํคือมีจุดขุํนขาวทึบแสงในเมล็ดข๎าวเจ๎า   ซึ่งเกิดจากการจับตัวอยํางหลวมๆ ระหวํางผลึก
                       แป้ง (starch  granule) กลุํมแป้ง (starch compound)  และโปรตีน (protein body) ท าให๎เกิดชํองอากาศเล็กๆ
                       ภายในเมล็ดมองเห็นเป็นลักษณะทึบแสง จุดขุํนขาวนี้มีขนาดแตกตํางกัน ซึ่งพบ 4 ลักษณะคือ การเกิดท๎องไขํตรง
                       ปลายของเมล็ดด๎านเดียวกันกับคัพภะ (white base)  เกิดท๎องไขํด๎านตรงข๎ามกับคัพภะ (white back) เกิดท๎องไขํ
                       ตรงกลางเมล็ด (white core) และเกิดท๎องที่อยูํข๎างเดียวกับคัพภะ (white belly) (ภาพที่ 2.1)




















                       ภาพที่ 2.1  ลักษณะการเกิดท๎องไขํ
                       ที่มา: กรมการข๎าว (2560)


                                 ข๎าวไทยสํวนมากเกิดท๎องไขํน๎อย แตํถ๎าพบสํวนมากเป็นประเภท white belly จากการสุํมเก็บตัวอยําง
                       ข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ของแปลงเกษตรกรในเขตจังหวัดสระแก๎ว จ านวน 15 ราย พบลักษณะท๎องไขํ 2 ลักษณะ คือ
                       ชนิด white core อยูํระหวําง 1.75–6.92% และ white belly อยูํระหวําง 0-2.7% (ประทีป และกิตติพงษ์, 2559)
                       ข๎าวท๎องไขํเป็นลักษณะที่ไมํพึงประสงค์ในวงการค๎าข๎าวเพราะไมํสวยและมีผลตํอคุณภาพการสี (กรมการข๎าว, 2560)
                       และการเกิดท๎องไขํสํงผลให๎ข๎าวมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวลดต่ าลง (Bautista et al., 2009)

                                 การเกิดท๎องไขํนั้นควบคุมด๎วยลักษณะทางพันธุกรรม ข๎าวตํางสายพันธุ์จะมีเปอร์เซ็นต์การเกิดท๎องไขํ
                       แตกตํางกันออกไป (Bautista et al., 2009) ในข๎าวขาวดอกมะลิ 105 การลดความชื้นด๎วยอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
                       กํอนเก็บรักษา สํงผลให๎เกิดท๎องไขํมากที่สุด ทั้งนี้คําท๎องไขํจะเพิ่มขึ้นในระยะการเก็บรักษา 4  เดือนแรก และเริ่ม
                       ลดลงในระยะการเก็บรักษา 5 – 12 เดือนหลัง (รณชัย และคณะ, 2558) นอกจากนี้สภาพแวดล๎อมยังมีสํวนท าให๎
                       เกิดท๎องไขํ เชํน แหลํงปลูก ฤดูกาล อุณหภูมิและการจัดการด๎านปุ๋ย (กรมการข๎าว, 2560)
                              3. คุณภาพการสี เป็นการประเมินผลของการแปรสภาพจากข๎าวเปลือกเป็นข๎าวสาร ปริมาณข๎าวรวม ข๎าว
                       เต็มเมล็ด ต๎นข๎าว ข๎าวหักขนาดตํางๆ และปลายข๎าวซึ่งเป็นผลได๎จากการขัดสีของข๎าวที่รับชื้อจะเป็นคําที่โรงสีใช๎
                       ประเมินผลที่ได๎จากการแปรสภาพในโรงสี โดยทั่วไปโรงสีจะตั้งเกณฑ์ขั้นต่ าของผลได๎จากการขัดสีของข๎าวที่รับซื้อ
                       หากข๎าวที่เกษตรกรน ามาจ าหนํายมีผลได๎จากการขัดสีต่ ากวําเกณฑ์ จะถูกตัดราคา ซึ่งข๎าวคุณภาพดีควรสีได๎ข๎าวเต็ม
                       เมล็ดและต๎นข๎าวมาก มีข๎าวหักน๎อย  โดยปัจจัยที่ท าให๎ข๎าวหักในระหวํางการสี คือ เมล็ดยาวมาก เมล็ดบิดเบี้ยว
                       หรือไมํสมบูรณ์  เมล็ดมีท๎องไขํ หรือ เมล็ดอํอน  การเกิดเมล็ดร๎าวกํอนการสีซึ่งอาจเกิดจากการเก็บเกี่ยวข๎าวแชํน้ า
                       หรือเก็บเกี่ยวช๎า รวมทั้งการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวไมํเหมาะสม โดยพบวําการเก็บเกี่ยวที่ระยะ 30  วันหลังออก
                       ดอกรํวมกับการลดความชื้นด๎วยการตากแดด ให๎คุณภาพการสีสูงสุด มีเปอร์เซ็นต์ข๎าวเต็มเมล็ดและต๎นข๎าว 60.2%
                       ระยะเก็บเกี่ยว 35 วันหลังออกดอกรํวมกับการลดความชื้นด๎วยการอบข๎าวที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสให๎คําความ
                       ขาวสูงสุด (รณชัย และคณะ, 2558)






                                                                                                         9
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42