Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       วัตถุประสงค์

                              1.  ศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบและกระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกหอมมะลิ และต๎นทุนสํวนเพิ่มของ
                       การจัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษา
                              2.  วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
                       ของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิในพื้นที่ศึกษา
                              3.  วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปแบบ/กระบวนการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางและคุณภาพข๎าวหอม
                       มะลิของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษา
                              4.  เสนอแนะวิธีการจัดการยุ๎งฉางที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร


                       ขอบเขตการศึกษา
                              การศึกษาครั้งนี้ท าการศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบและกระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกของเกษตรกรที่
                       ปลูกข๎าวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิแตํละรูปแบบ วิเคราะห์
                       ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรและการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
                       ของเกษตรกร โดยศึกษาทั้งในพื้นที่ชลประทานกับพื้นที่นาน้ าฝน และเกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์กับเกษตรกรที่
                       ไมํใชํอินทรีย์ รวมทั้งวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะการจัดการยุ๎งฉางที่มีตํอ
                       คุณภาพข๎าวหอมมะลิ ได๎แกํ ความหอม เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือกในยุ๎งฉาง
                       เพื่อเสนอแนะวิธีการจัดการยุ๎งฉางที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิ โดยมีพื้นที่
                       ศึกษาในแหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิที่ส าคัญ 9 จังหวัด ได๎แกํ นครพนม ยโสธร ร๎อยเอ็ด มหาสารคาม นครราชสีมา
                       อุบลราชธานี สุรินทร์ ศรีสะเกษ และบุรีรัมย์ เก็บรวบรวมข๎อมูลและเก็บตัวอยํางข๎าวของเกษตรกรในปีการผลิต
                       2560/61 ใช๎การวิจัยเชิงส ารวจ (survey research) รํวมกับการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)


                       ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                              1.  เข๎าใจรูปแบบและกระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือก และต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือก
                       หอมมะลิของเกษตรกร
                              2.  ทราบปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร
                       ซึ่งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สามารถน าไปใช๎เพื่อเป็นแนวทางการก าหนดนโยบาย
                       สินเชื่อชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) ในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวที่มีประสิทธิภาพ
                              3.  ทราบถึงความสัมพันธ์ของรูปแบบ/กระบวนการจัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉางและคุณภาพข๎าวหอมมะลิของ
                       เกษตรกร ซึ่งเกษตรกรทั่วไปสามารถน าแนวทางการจัดการยุ๎งฉางจากผลการวิจัยไปใช๎ในการจัดเก็บข๎าวในยุ๎งฉาง
                       ของตนเอง ซึ่งจะสํงผลให๎ข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางที่เก็บโดยใช๎รูปแบบ/กระบวนการตามผลการวิจัยมีคุณภาพทั้งด๎าน
                       ความหอมเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และระดับความชื้นที่เหมาะสม เมื่อน าผลผลิตข๎าวไปขายจะสํงผลให๎
                       ได๎รับราคาที่สูงขึ้น มีรายได๎เพิ่มมากขึ้น
                              4.  ได๎ข๎อเสนอแนะวิธีการจัดการยุ๎งฉางที่มีประสิทธิภาพในการเก็บรักษาคุณภาพข๎าวของเกษตรกรซึ่ง
                       ธ.ก.ส. สามารถน าไปใช๎เพื่อเป็นข๎อก าหนดรูปแบบการจัดเก็บข๎าวส าหรับเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ซึ่ง
                       จะท าให๎ข๎าวในโครงการฯ ยังคงคุณภาพ ทั้งด๎านความหอม เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว และระดับความชื้นที่เหมาะสม สํงผล
                       ให๎ผลผลิตข๎าวเพิ่มขึ้นในเชิงคุณภาพ โดยการเพิ่มคุณภาพด๎านความชื้นและเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวที่สูงขึ้นกวําวิธีการ
                       จัดเก็บเดิมจะสํงผลให๎คุณภาพข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้นและขายได๎ในราคาสูงขึ้น นอกจากนั้นยังท าให๎
                       ข๎าวหอมมะลิที่เข๎าสูํตลาดยังคงคุณสมบัติด๎านความหอมไว๎ได๎ ท าให๎ประเทศไทยสามารถรักษาตลาดข๎าวหอมมะลิ
                       และเพิ่มความสามารถการแขํงขันของข๎าวไทยในตลาดโลก ซึ่งจะยกระดับรายได๎ของเกษตรกรและผู๎ที่เกี่ยวข๎อง
                       ตลอดหํวงโซํอุปทาน









                                                                                                         4
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37