Page 30 -
P. 30
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ครัวเรือน แตํจะแบํงพื้นที่สํวนที่เหลือส าหรับปลูกข๎าวหอมมะลิเพื่อขายด๎วยเกือบทุกครัวเรือน โดยพื้นที่เพาะปลูก
ข๎าวหอมมะลิของไทยมีประมาณ 24 ล๎านไรํ เป็นพื้นที่เพาะปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึงประมาณ 21 ล๎านไรํ
หรือมากกวําร๎อยละ 80 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งประเทศ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560) แม๎วําข๎าวหอมมะลิ
จะมีราคาสูงแตํข๎อจ ากัดที่ส าคัญคือข๎าวหอมมะลิเป็นข๎าวที่ไวตํอชํวงแสง ปลูกได๎เพียง 1 ครั้งตํอปี เฉพาะชํวงฤดูนาปี
เทํานั้น และจะเก็บเกี่ยวในชํวงเวลาเดียวกันคือประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ท าให๎ในชํวงดังกลําวมีผลผลิต
ข๎าวหอมมะลิออกสูํตลาดมาก และเกษตรกรประสบกับปัญหาราคาข๎าวหอมมะลิตกต่ าในชํวงฤดูเก็บเกี่ยว
นอกจากปัญหาราคาข๎าวหอมมะลิตกต่ าในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวเพราะมีอุปทานข๎าวออกสูํตลาดมากในเวลา
เดียวกันแล๎ว ปัญหาส าคัญอีกปัญหาหนึ่งของตลาดข๎าวหอมมะลิไทยคือปัญหาด๎านคุณภาพ ซึ่งในชํวงหลายปีที่ผํานมา
ราคาข๎าวหอมมะลิของไทยลดต่ าลงและอยูํในระดับที่สูงกวําข๎าวหอมจากประเทศอื่นไมํมากนัก แสดงให๎เห็นวําคํา
ความจ าเพาะของคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่ตลาดเคยให๎กับข๎าวหอมมะลิเริ่มหมดไป สาเหตุส าคัญนําจะมาจากปัจจัย
ด๎านคุณภาพที่ลดลง (สมพร, 2559) นอกจากนี้ยังมีเสียงสะท๎อนจากผู๎บริโภคทั้งตลาดภายในและภายนอกประเทศ
ถึงคุณภาพที่ไมํเหมือนข๎าวหอมมะลิดั้งเดิม สิ่งที่กลําวถึงมากที่สุดคือคุณภาพด๎านความหอมและคุณภาพด๎านการหุง
ต๎มของข๎าวหอมมะลิด๎อยลง (รณชัย และคณะ, 2558) รวมถึงคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่สํงออกแตํละครั้งไมํเหมือนกัน
(ลัดดา และคณะ, 2557) ซึ่งสาเหตุของคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่ลดลงเกิดได๎จากหลายสาเหตุทั้งปัจจัยด๎านความ
แปรปรวนทางพันธุกรรม การจัดการในแปลงปลูก และการจัดการหลังเก็บเกี่ยว (Singh et al., 2000)
4
คุณภาพของข๎าวหอมมะลิที่งานวิจัยตํางๆให๎ความส าคัญนอกจากความหอม แล๎วยังประกอบด๎วย
เปอร์เซ็นต์ข๎าวเต็มเมล็ดเปอร์เซ็นต์ ความชื้นของข๎าวและเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ (กัญญา, 2547) ซึ่งมีงานวิจัยที่ผํานมา
หลายเรื่องศึกษาปัจจัยที่สํงผลกระทบตํอคุณภาพข๎าวหอมมะลิ ผลการวิจัยระบุวําข๎าวหอมมะลิที่มาจากแหลํง
เพาะปลูกตํางกันมีความแปรปรวนทางพันธุกรรม เนื่องจากเกษตรกรเก็บเมล็ดปลูกตํอเองเป็นระยะเวลานานโดย
ขาดความรู๎เรื่องการคัดเลือกพันธุ์ (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547; วราพงษ์และคณะ, 2560) ซึ่งความแปรปรวนใน
ลักษณะพันธุกรรมอาจสํงผลตํอความหอมของข๎าว (Singh et al., 2000) นอกจากนั้นการปลูกข๎าวในชุดดินที่
แตกตํางกัน คุณสมบัติของดิน ปริมาณธาตุอาหาร และความเป็นกรดดํางของดินที่แตกตํางกันก็สํงผลกระทบตํอ
คุณภาพทางกายภาพ ทางเคมีและความหอมของข๎าว (สมพร และคณะ, 2543) ข๎าวหอมมะลิที่ปลูกในดินทรายจะมี
ระดับความหอมมากกวําข๎าวที่ปลูกในดินเหนียว ในขณะที่ข๎าวที่ปลูกในดินเค็มจะมีความหอมมากกวําข๎าวที่ปลูกใน
ดินทั่วไป ซึ่งท าให๎ข๎าวที่ปลูกในทุํงกุลาร๎องไห๎มีความหอมมากกวําข๎าวจากพื้นที่อื่น (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547)
ส าหรับปัจจัยด๎านน้ า พบวํา การขาดน้ าในระยะกํอนออกดอก 7 วัน และหลังระยะออกดอกสํงผลให๎ความหอมของ
ข๎าวหอมมะลิลดลง ในขณะที่ข๎าวที่ปลูกในดินเค็มเมื่อมีภาวะขาดน้ าในระดับที่เหมาะสมจะสํงผลให๎ความหอมของ
ข๎าวเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาวะเครียดท าให๎ข๎าวมีการสังเคราะห์สาร proline มากขึ้น จึงมีปริมาณสาร 2-acetyl-1-
pyrroline (2AP) ในเมล็ดข๎าวเพิ่มขึ้น (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547; รณชัย และคณะ, 2558) นอกจากนั้นการจัดการ
ธาตุอาหารในดินยังสํงผลตํอคุณภาพด๎านความหอมของข๎าวเชํนกัน โดยการใช๎ปุ๋ยที่มีปริมาณไนโตรเจนต่ า แตํมี
ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูงจะสํงผลให๎ข๎าวมีความหอมและความนุํมมากขึ้น (อ านาจ, มปป.) นอกจากนี้การใสํ
ธาตุอาหารรองทั้งซัลเฟอร์ แมกนีเซียมและแมงกานีส ก็สํงผลตํอการเพิ่มขึ้นของสาร 2AP ในเมล็ดข๎าวเชํนกัน (รณ
ชัย และคณะ, 2558)
แม๎วําความแปรปรวนทางพันธุกรรมและการจัดการในแปลงปลูกจะมีผลตํอคุณภาพด๎านความหอมของ
ข๎าวหอมมะลิ แตํการสูญเสียของคุณภาพของข๎าวคิดเป็นมูลคําประมาณ 25-50% เกิดในชํวงระหวํางการเก็บเกี่ยว
และการเก็บรักษาข๎าว (Rickman and Gummert, 2017) ซึ่งการจัดการระหวํางเก็บเกี่ยวสํงผลตํอคุณภาพข๎าวทั้ง
ความหอมและคุณภาพด๎านอื่นๆ ทั้งเปอร์เซ็นข๎าวเต็มเมล็ดและความชื้นของข๎าว โดยอายุการเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิ
ที่เหมาะสมควรอยูํระหวําง 28-35 วันหลังออกดอก (วินิต และคณะ, 2538; รณชัย และคณะ, 2558) จะท าให๎
คุณภาพการสีสูงที่สุด ส าหรับปัจจัยด๎านความชื้น พบวําความชื้นของเมล็ดข๎าวและอุณหภูมิในการลดความชื้นของ
เมล็ดมีผลตํอความหอมและคุณสมบัติความหนืดของแป้งระหวํางเก็บรักษา การลดความชื้นโดยการตากแดด ให๎
คุณภาพของการสีและปริมาณสารหอม 2AP สูงกวํากรรมวิธีอื่น (รณชัย และคณะ, 2558) ซึ่งการลดความชื้นของ
4
ข๎าวหอมมะลิมีสารหอมระเหยที่ท าให๎เกิดกลิ่นหอมในข๎าวกล๎องและข๎าวสาร คือ 2-acetyl-1-pyrroline (2AP) เป็นสารประกอบที่อยูํ
ในกลุํมของสารที่ให๎กลิ่นขนมปัง
2