Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       เมล็ดไมํควรใช๎อุณหภูมิสูงกวํา 50 องศาเซลเซียส (กิตติยา, 2547) และยังพบวําวิธีการตากข๎าวสํงผลตํอคุณภาพข๎าว
                       โดยการตากแผํข๎าวในแปลงนามากกวํา 4 วัน อาจสํงผลให๎เปอร์เซ็นต์ข๎าวเต็มเมล็ดลดลงโดยเฉพาะในชํวงเวลาที่มี
                       ฝนตก และการบังแดด 75%  ให๎กองฟ่อนข๎าวจะสํงผลให๎คุณภาพการสีข๎าวเพิ่มขึ้น ในขณะที่การพลิกกลับข๎าวใน
                       ชํวงเวลาการตากจะสํงผลให๎ความชื้นของข๎าวลดลง คุณภาพการสีสูงขึ้นและขายได๎ราคาสูงกวําข๎าวที่วางกองไว๎โดย
                       ไมํพลิกกลับ นอกจากนั้นผลการศึกษายังระบุวําการนวดข๎าวโดยใช๎เครื่องนวดข๎าวไมํท าให๎ปริมาณและคุณภาพข๎าว
                       แตกตํางจากการนวดด๎วยมือ และความเร็วของเครื่องนวดก็ไมํมีผลตํอปริมาณและคุณภาพข๎าวเชํนกัน (วินิต และ
                       คณะ, 2538)

                               ส าหรับงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการยุ๎งฉางข๎าวของเกษตรกรตํอคุณภาพข๎าวยังไมํปรากฏในชํวงเวลาที่
                       ผํานมา มีเพียงการศึกษาของ Tsado et al. (2015) ที่ระบุวําระยะเวลาการจัดเก็บมีความสัมพันธ์ตํอคุณภาพการขัด
                       สีของข๎าว การแตกร๎าวของเมล็ดและเปอร์เซ็นต์ข๎าวเต็มเมล็ด เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูง
                       สํงผลให๎คุณภาพการขัดสีข๎าวต่ า โดยข๎าวเปลือกจะได๎รับความเสียหายมากขึ้นหลังจากเก็บข๎าวเปลือกไว๎ในยุ๎งฉาง
                       ประมาณ 7 เดือน ความเสียหายที่เกิดขึ้นมีทั้งการสูญเสียน้ าหนักของข๎าวเปลือก การสูญเสียคุณภาพของเมล็ด
                       ข๎าวเปลือกเพราะมีเศษลอกคราบและของเสียจากตัวแมลงปนมาอยูํในข๎าว และสูญเสียความงอกของข๎าวเปลือก
                       ซึ่งความเสียหายระหวํางการเก็บรักษามีสาเหตุจากปัจจัยที่ส าคัญ 2 ประการคือ ปัจจัยทางกายภาพ ได๎แกํ อุณหภูมิ
                       ความชื้นของอากาศ และปัจจัยทางชีวภาพ ได๎แกํ การรบกวนของแมลงไร เชื้อรา นก และหนู  (บุษรา, 2547) ซึ่ง
                       ระบบการจัดเก็บข๎าวที่ดีจะต๎องสามารถป้องกันการเพิ่มขึ้นของความชื้นในเมล็ดข๎าวได๎ ป้องกันการรบกวนของศัตรู
                       ในโรงเก็บทั้งแมลง หนูและนกได๎ มีการใช๎พื้นที่อยํางมีประสิทธิภาพ และงํายตํอการขนสํงและบ ารุงรักษา (Rickman
                       and Gummert, 2017) ส าหรับระบบการเก็บรักษาข๎าวของเกษตรกรไทยสํวนใหญํจะเก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉาง ซึ่งในอดีต
                       ยุ๎งฉางถือวํามีความส าคัญกับเกษตรกรไทยมาก เนื่องจากหลังจากตากและนวดข๎าวเสร็จแล๎วเกษตรกรสํวนใหญํจะ
                       เก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉางเพื่อรอน าไปจ าหนํายหรือเก็บไว๎บริโภคในครัวเรือน โดยในชํวงเวลากํอนการเก็บเกี่ยวและข๎าวอยูํ
                       บนลานนวด เกษตรกรจะไปตรวจความเรียบร๎อยของยุ๎งฉาง หากพบวํามีความเสียหายของยุ๎งฉางสํวนใดจะต๎องรีบ
                                                                     5
                       ซํอมแซมให๎แข็งแรงเรียบร๎อยกํอนขนย๎ายข๎าวเปลือกมาเก็บรักษา อยํางไรก็ตามการจัดเก็บข๎าวเปลือกของเกษตรกร
                       ในปัจจุบันบางสํวนไมํได๎เก็บในยุ๎งฉางเหมือนเชํนในอดีตเพราะยุ๎งฉางที่มีอยูํอาจเกํา ผุพัง และไมํได๎ซํอมแซมไว๎ใช๎
                       บางสํวนเก็บไว๎ในบ๎าน อาจวางบนพื้นซีเมนต์หรือวางบนแครํไม๎ บางสํวนวางในโรงเรือนหรือยุ๎งฉางที่มีพื้นเป็นซีเมนต์
                       ซึ่งอาจสํงผลตํอความชื้นของข๎าวและคุณภาพด๎านอื่นๆ ด๎วย (ส านึกรักบ๎านเกิด, 2555) ส าหรับเกษตรกรที่เก็บข๎าวใน
                       ยุ๎งฉางจะบรรจุข๎าวเปลือกในกระสอบ มัดปิดปากกระสอบแล๎วน าไปวางเรียงไว๎ในยุ๎งฉาง ซึ่งมักจะถูกนกและหนู
                       ท าลายและสูญเสียเป็นจ านวนมากในแตํละปี (กฤตพา และคณะ, 2554) อยํางไรก็ตามในประเด็นเรื่องความสัมพันธ์
                       ของการจัดเก็บข๎าวหรือกระบวนการจัดการยุ๎งฉางกับปัจจัยด๎านคุณภาพข๎าวยังไมํมีงานวิจัยยืนยันที่แนํชัด

                               จากที่กลําวมาข๎างต๎นจะพบวํางานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของพันธุกรรม การจัดการในแปลงและ
                       กระบวนการจัดการระหวํางเก็บเกี่ยวตํอคุณภาพข๎าวมีผลการศึกษาที่ชัดเจนในหลายเรื่อง แตํไมํปรากฏงานวิจัยที่
                       เกี่ยวข๎องกับรูปแบบและกระบวนการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ
                       ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิแตํละวิธี และความสัมพันธ์ของการจัดการยุ๎งฉางตํอคุณภาพข๎าวหอม
                       มะลิของเกษตรกรซึ่งเป็นข๎อมูลส าคัญในการก าหนดแนวทางการด าเนินโครงการจ าน ายุ๎งฉาง เพื่อลดอุปทานข๎าว
                       ในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวอยํางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงต๎องการศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบ และ
                       กระบวนการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการตัดสินใจเข๎ารํวม
                       โครงการจ าน ายุ๎งฉาง ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในแตํละรูปแบบเพื่อเติมเต็มข๎อมูลพื้นฐานด๎านการ
                       จัดการหลังเก็บเกี่ยวข๎าวที่ยังขาดอยูํให๎กับผู๎ที่เกี่ยวข๎องในการวางแผนนโยบาย รวมทั้งการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
                       วัตถุประสงค์การเก็บข๎าว สภาพแวดล๎อม ปัจจัยทางกายภาพและวัตถุประสงค์การจัดเก็บตํอตัวแปรคุณภาพ
                       ข๎าวหอมมะลิที่ส าคัญ เพื่อสร๎างองค์ความรู๎ในการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิที่เหมาะสมและเผยแพรํสูํเกษตรกรและผู๎ที่
                       เกี่ยวข๎องตํอไป






                       5 ข๎อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรในเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม (2560)



                                                                                                         3
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36