Page 36 -
P. 36
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ส าหรับเกษตรกร นอกจากนั้นการตัดสินใจของเกษตรกรแตํละรายยังเกี่ยวข๎องกับประสบการณ์และแนวคิดการ
จัดการฟาร์มที่แตกตํางกันของเกษตรกรแตํละบุคคล (Briggs and Johnston, 1991 อ๎างถึงใน Nwet et al., 2017)
ในทางเศรษฐศาสตร์ “การจัดเก็บ” หมายถึง กิจกรรมการผลิตที่ถูกสร๎างขึ้นเพื่อลดชํองวํางของเวลา
ระหวํางการผลิตและการบริโภค ส าหรับข๎าวสามารถจัดเก็บได๎ทั้งในระดับฟาร์มและระดับตลาด การจัดเก็บที่ไมํใชํ
ระดับฟาร์มจะเกี่ยวข๎องกับการขายข๎าวให๎กับพํอค๎าคนกลางในตลาด โดยปกติแล๎วชํวงเวลาในฤดูเก็บเกี่ยวจะเป็นชํวง
ที่ราคาตกต่ าแตํเป็นชํวงสั้นๆ ในขณะที่เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได๎ตลอดทั้งปี ถ๎าเกษตรกรคาดการณ์อุปสงค์
และอุปทานในอนาคตได๎ถูกต๎องก็จะจัดเก็บผลผลิตในจ านวนที่เหมาะสม ราคาผลผลิตจะเพิ่มขึ้นจากราคาต่ าที่สุด
ในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวมากพอที่จะชดเชยต๎นทุนการจัดเก็บผลผลิตของเกษตรกรได๎ โดยการเปลี่ยนแปลงราคาต๎องเพียง
พอที่จะจูงใจให๎เกษตรกรบางรายขายผลผลิต ในขณะที่บางรายยังเก็บผลผลิตตํอไปเพื่อรอราคา ดังนั้นผลผลิตตาม
ฤดูกาลจะถูกจัดสรรให๎สํงออกไปขายในตลาดตลอดทั้งปีโดยอาศัยกลไกความสัมพันธ์ของราคาผลผลิตในปัจจุบันและ
ราคาที่คาดวําจะได๎รับซึ่งหักด๎วยต๎นทุนคําจัดเก็บแล๎ว ส าหรับเกษตรกรทั่วไปแล๎วต๎องการได๎รับก าไรสูงสุดหรือ
ขาดทุนน๎อยที่สุด ดังนั้นจึงต๎องการได๎รายได๎จากการขายผลผลิตมากที่สุดเทําที่จะเป็นไปได๎ ผลก็คือเกษตรกรจะเก็บ
ผลผลิตไว๎ถ๎าคาดวําก าไรจากการจัดเก็บผลผลิตจะมากกวําหรือเทํากับต๎นทุนในการจัดเก็บ (สมการที่ 2.1) (Tomek
and Robinson, 2014)
เมื่อ คือ ราคาที่คาดวําจะได๎รับ (2.1)
คือ ราคาปัจจุบัน
คือ ต๎นทุนตํอหนํวยผลผลิตในการจัดเก็บตั้งแตํเก็บเกี่ยว
จนถึงขายผลผลิต
คุณภาพของข้าวและปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ
ในกระบวนการผลิตข๎าว ปริมาณและคุณภาพของของผลผลิตเป็นสิ่งที่ต๎องน ามาพิจารณาให๎ความส าคัญ
รํวมกัน โดยคุณภาพของข๎าวสามารถจ าแนกออกได๎เป็น 4 ประเภท ได๎แกํ 1) คุณภาพการสี (milling quality)
2) คุณภาพการหุงต๎ม รับประทาน และการแปรรูป (cooking eating and processing quality) 3) คุณภาพ
ทางด๎านโภชนาการ (nutritive quality) และ 4) คุณภาพตามมาตรฐานการซื้อขาย ซึ่งประเภทของคุณภาพดังกลําว
จะมีความส าคัญแตกตํางกันไปขึ้นอยูํกับวัตถุประสงค์การใช๎ประโยชน์จากข๎าว เชํน ในการสีข๎าวต๎องการข๎าวที่มี
คุณภาพการสีดี ได๎ข๎าวเต็มเมล็ดและต๎นข๎าวสูง สํวนในด๎านคุณภาพการหุงต๎มรับประทานและการแปรรูป ข๎าวสุกที่
ได๎อาจมีลักษณะแตกตํางกันไป ได๎แกํ ข๎าวสุกนุํมและเหนียว ข๎าวสุกไมํแข็งและข๎าวสุกรํวน โดยเฉพาะอยํางยิ่งการ
แขํงขันในตลาดโลก คุณภาพข๎าวจะเป็นตัวก าหนดระดับราคาข๎าว ซึ่งการก าหนดมาตรฐานข๎าวเพื่อการสํงออกของ
ประเทศผู๎ค๎าข๎าว มาตรการที่ใช๎ส าหรับประเมินราคาข๎าวเปลือกและข๎าวสารล๎วนเป็นลักษณะที่มองเห็นสามารถชั่ง
ตวง วัด ได๎ เชํน ลักษณะเมล็ด (ยาว - สั้น) สีข๎าวเปลือก สีแล๎วหักมากหรือหักน๎อย มีเมล็ดข๎าวแดงปนหรือไมํ เป็น
ต๎น (กรมการข๎าว, 2560) การจ าแนกคุณภาพตามมาตรฐานการซื้อขาย เป็นปัจจัยที่เกษตรกรต๎องให๎ความส าคัญ
เพราะมีผลตํอการจ าหนํายข๎าวโดยตรงจึงจ าเป็นต๎องทราบถึงเกณฑ์และข๎อก าหนดตํางๆ เพื่อเป็นแนวทางในการ
จัดการผลผลิตกํอนจ าหนําย
การประเมินคุณภาพข้าวในการซื้อขายนั้นสิ่งที่ก าหนดราคาข้าว ได๎แกํ ความชื้น ลักษณะทางกายภาพ
ของข๎าว และคุณภาพการสี ดังนี้
1. ความชื้น มีบทบาทส าคัญในการก าหนดราคาข๎าว ข๎าวที่เก็บเกี่ยวในระยะที่เหมาะสม และน ามาลด
ความชื้นเหลือปริมาณ 13-15% จะมีราคาสูงกวําข๎าวที่มีความชื้นสูง เนื่องจากข๎าวแห๎งที่มีความชื้นเหมาะสม
สามารถท าการสีได๎ทันทีโดยไมํต๎องน ามาลดความชื้นอีก แตํถ๎ารับซื้อข๎าวที่มีความชื้นสูงจะต๎องเสียคําใช๎จํายในการ
ลดความชื้น ดังนั้นหากข๎าวมีความชื้นเกินกวําที่ก าหนดจะถูกตัดราคา
2. ลักษณะทางกายภาพของข้าว หมายถึง คุณสมบัติตํางๆ ของเมล็ดที่สามารถมองเห็น หรือชั่ง วัด และ
ตวงได๎ เชํน น้ าหนักเมล็ด สีข๎าวเปลือก สีข๎าวกล๎อง ขนาดและรูปรํางเมล็ด ลักษณะท๎องไขํ ความใสขุํนของข๎าวสาร
และความขาวของข๎าวสาร เป็นต๎น ลักษณะประจ าพันธุ์ของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15 ทั้งสองพันธุ์เป็นข๎าว
8