Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ใช๎มูลวัวเคลือบภายในเพื่อดูดซับความชื้นและป้องกันการรบกวนของแมลง ซึ่งเกษตรกรที่อยูํบนที่สูงและมีไม๎ไผํ
จ านวนมากในพื้นที่นิยมเก็บข๎าวใน pora เพราะราคาถูก เหมาะกับสภาพอากาศทุกแบบ ป้องกันความชื้นได๎ ทนตํอ
การท าลายของหนู เคลื่อนย๎ายสะดวก ใช๎พื้นที่น๎อยและเก็บไว๎ได๎นาน (RKMP, 2011)
ในสํวนของประเทศไทย โดยทั่วไปเกษตรกรจะเก็บข๎าวเปลือกไว๎ในยุ๎งฉางซึ่งสํวนใหญํท าด๎วยไม๎ยกพื้นสูง
อากาศถํายเทได๎สะดวก เพื่อจะได๎ระบายความชื้นและความร๎อนออกไปจากยุ๎งฉาง (พัชรี, 2558) พื้นยุ๎งฉางและผนัง
เป็นไม๎ บางพื้นที่ยาแนวด๎วยดินเหนียวเพื่ออุดรอยรั่ว หลังคาเป็นสังกะสี (กฤตพา และคณะ, 2554) โดยยุ๎งฉางที่เก็บ
จะต๎องได๎รับการท าความสะอาด ปราศจากเศษวัสดุตําง ๆ ตลอดจนแมลง หรือไขํของแมลงที่จะเข๎าท าอันตรายตํอ
ข๎าวเปลือกที่เก็บรักษา ต๎องมีตาขํายป้องกันนกและหนูเข๎ากินข๎าวเปลือก รวมทั้งบริเวณเสาก็ควรมีสังกะสีกันหนู อยูํ
หํางจากต๎นไม๎ใหญํที่หนูไมํสามารถกระโดดเข๎ามาได๎ มีชํองถํายเทอากาศที่ดีที่ไมํเกิดปัญหาอับชื้น (ส านักงานเกษตร
อ าเภอลาดบัวหลวง, 2560) นอกจากนี้หลังคาของยุ๎งฉางจะต๎องไมํรั่ว และสามารถกันน้ าฝนไมํให๎หยดลงไปในยุ๎งฉาง
ได๎ กํอนน าข๎าวขึ้นไปเก็บไว๎ในยุ๎งฉางจ าเป็นต๎องท าความสะอาดฉางเสียกํอน และบางพื้นที่ก็จะน ามูลวัวหรือมูลควาย
ที่ใกล๎แห๎งมาติดรอบยุ๎งฉาง เพื่ออุดรูรั่ว และป้องกันแมลงและหนูเข๎าไปกินข๎าวด๎วย (พัชรี, 2558) ส าหรับรูปแบบ
การเก็บรักษาไว๎ในยุ๎งฉางมี 2 วิธี คือ 1) เทกองบนพื้นของยุ๎งฉาง 2) ใสํกระสอบกองซ๎อนกันเก็บไว๎ วิธีแรกจะต๎อง
เป็นข๎าวที่มีความชื้นไมํเกิน 14.5% แตํถ๎าสถานที่เก็บข๎าวเป็นพื้นปูนที่ไมํยกพื้นต๎องระมัดระวังความชื้นจากพื้นดิน
ด๎วยวิธีนี้จะเก็บข๎าวเปลือกได๎ ประมาณ 3 เดือน ถ๎าต๎องการเก็บนานกวํานั้น ต๎องท าชํองระบายอากาศโดยปักทํอไม๎
ไผํที่ทะลุปล๎องผํานตลอด เจาะรูบริเวณผิวทุกระยะ 1-2 เมตร เพื่อระบายความร๎อนจากกลางกองข๎าว อีกวิธี คือ
การเก็บด๎วยกระสอบ วิธีนี้สามารถเก็บข๎าวเปลือกได๎นานกวํา แตํควรวางบนแครํไม๎สูงจากพื้นประมาณ 10
เซนติเมตร และความชื้นข๎าวเปลือกที่เก็บใสํกระสอบไว๎ ต๎องไมํเกิน 15.5% จะสามารถเก็บรักษาได๎ 6 เดือน
(ส านักงานเกษตรอ าเภอลาดบัวหลวง, 2560) นอกจากนั้นเกษตรกรที่ไมํมียุ๎งฉางโดยเฉพาะเกษตรกรในภาคใต๎จะ
จัดเก็บข๎าวเปลือกในกระสอบแล๎ววางไว๎ในบ๎านเพราะยุ๎งฉางเดิมพังเสียหายไปตามอายุและไมํได๎ซํอมแซมไว๎ใช๎
เพราะปริมาณข๎าวที่เก็บในแตํละปีมีไมํมากนัก (กฤตพา และคณะ, 2554)
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเก็บข้าว
การจัดเก็บผลผลิตทางการเกษตรไว๎รอขายหลังฤดูเก็บเกี่ยวเป็นกลไกทางการตลาดที่ส าคัญในการแก๎ไข
ปัญหาราคาผลผลิตตกต่ าในชํวงเก็บเกี่ยวและชํวยลดความผันผวนของราคาผลผลิตและท าให๎มีผลผลิตออกสูํตลาด
ตลอดทั้งปีแม๎ในชํวงนอกฤดู ซึ่งจะชํวยยกระดับรายได๎ของเกษตรกรให๎สูงขึ้น อยํางไรก็ตามหากขาดสถานที่จัดเก็บ
และวิธีการจัดเก็บที่เหมาะสม ผลผลิตอาจได๎รับความเสียหายจากการท าลายของแมลงศัตรูพืชหรือสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง
เชื้อโรคตํางๆ การเข๎าท าลายของศัตรูในโรงเก็บดังกลําวอาจท าให๎ผลผลิตเสียหายหรือเสื่อมคุณภาพซึ่งจะน าไปสูํ
มูลคําของผลผลิตที่ลดลง ดังนั้นเกษตรกรจ าเป็นต๎องมีรูปแบบการเก็บรักษาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อให๎
ขายผลผลิตได๎ในราคาที่เหมาะสม (Nwet et al., 2017) การเก็บผลผลิตไว๎ไมํเพียงแตํลดปัญหาการขาดแคลนอาหาร
ในชํวงนอกฤดู แตํยังชํวยให๎เกษตรกรมีรายได๎เพิ่มขึ้นหรือขายผลผลิตได๎ในราคาสูงขึ้นในชํวงนอกฤดูเก็บเกี่ยวที่
ปริมาณอุปทานของผลผลิตมีน๎อย (Hofstrand and Wisner, 2006) นอกจากนั้นคุณภาพของสินค๎าเกษตรยังเป็นสิ่ง
ส าคัญในการก าหนดราคาขาย การจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพจึงมีความส าคัญตํอการเพิ่มรายได๎ให๎กับครัวเรือน
เกษตรกร และยังชํวยท าให๎เกษตรกรรายยํอยมีระดับความมั่นคงทางอาหารเพิ่มขึ้น (Kohis and Uhl, 1998 อ๎างถึง
ใน Nwet et al., 2017)
แม๎วําเกษตรกรสามารถขายผลผลิตทางการเกษตรทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวหรือหลังจากลดความชื้นแล๎ว แตํ
การเก็บผลผลิตไว๎จะมีข๎อได๎เปรียบมากกวํา เพราะโดยทั่วไปแล๎วราคาผลผลิตทางการเกษตรจะตกต่ าในชํวงฤดูเก็บ
เกี่ยวแตํเพิ่มสูงขึ้นในชํวงนอกฤดู ดังนั้นการจัดเก็บผลผลิตจะท าให๎เกษตรกรขายผลผลิตได๎ในราคาสูงขึ้น
นอกจากนั้นการจัดเก็บผลผลิตยังเป็นสิ่งจ าเป็นในการรักษาปริมาณอุปทานข๎าวหรือผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ ให๎
ออกสูํตลาดตลอดทั้งปี เนื่องจากมีความต๎องการบริโภคข๎าวอยํางตํอเนื่องตลอดปีเชํนกัน (Naphire, 1990)
การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บผลผลิตของเกษตรกรพบวําเกี่ยวข๎องกับตัวแปรหลายด๎าน ซึ่ง
เกษตรกรสํวนใหญํตัดสินใจโดยใช๎ก าไรสํวนตํางเป็นตัวก าหนด อยํางไรก็ตามการตัดสินใจจัดเก็บผลผลิตจ าเป็นต๎อง
ใช๎เงินทุนก๎อนใหญํเพื่อพัฒนาระบบการจัดเก็บและเครื่องจักรอุปกรณ์ตํางๆ ดังนั้นการตัดสินใจดังกลําวจึงไมํงํายนัก
7