Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ที่เกิดพันธะคูํ สาร 2-acetyl-1-pyrroline มีสมบัติทางกายภาพเป็นของเหลวใสไมํมีสี เนื่องจากเป็นสารประกอบ
                       ไนโตรเจน ท าให๎สารหอมนี้สมบัติเป็นเบสเล็กน๎อย และเมื่อเก็บเป็นเวลานานจะเป็นสีแดงหรือน้ าตาลเข๎ม นอกจากนี้
                       ยังเป็นสารที่ระเหยงํายและไมํคํอยเสถียรเมื่ออยูํในรูปสารบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงต๎องเก็บในรูปของสารละลายที่เจือจางอยูํ
                       ในรูปของเกลือ บางครั้งท าให๎เกิดความยุํงยากในการวิเคราะห์สารหอมนี้ในตัวอยํางข๎าว นอกจากนี้สาร 2-acetyl-1-
                       pyrroline ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ คือ 5-acetyl-3,  4-dihydro-2H-pyrrole  และ 1-(3,4-dihydro-2H-pyrrol-5-
                       yl)ethanone มีสูตรโมเลกุล คือ C H NO และมีมีมวลโมเลกุลเทํากับ 111.143 (จริยาพร, 2548)
                                                6 9
                              สาร 2-acetyl-1-pyrroline นอกจากจะมีอยูํในข๎าวหอมแล๎ว ยังพบสารนี้ปริมาณสูงในพืชตระกูลเตย
                       (Pandanus arnaryllifolins, fragrant screw pine) ซึ่งมีปริมาณสูงถึง 1 g/g ความเข๎มข๎นของสารนี้ที่พบใน
                       ใบเตยสูงกวําที่พบในข๎าวหอมถึงประมาณ 10 เทํา และสูงกวําในข๎าวที่ไมํหอมถึง 100 เทํา ดังนั้นเพื่อให๎ข๎าวมีกลิ่น
                       หอม จึงนิยมใสํใบเตยในการหุงต๎มข๎าวที่ไมํหอม (แสงนวล, 2548)

                              ในปัจจุบันปัญหาความไมํสม่ าเสมอของคุณภาพของข๎าวหอมมะลิไทยได๎รับเสียงสะท๎อนจากผู๎บริโภคทั้ง
                       ตลาด ภายนอกและภายในประเทศ โดยเฉพาะอยํางยิ่งความหอมและคุณภาพการหุงต๎ม สิ่งที่มีกลําวถึงมากที่สุด คือ
                       คุณภาพไมํเหมือนข๎าวหอมมะลิดั้งเดิมและหรือคุณภาพในแตํละครั้งที่สํงออกมีความแตกตํางกัน และเมื่อพิจารณาถึง
                       สาเหตุของความไมํสม่ าเสมอของคุณภาพอาจกลําวได๎วําเกิดจากทั้งกระบวนการผลิต และกระบวนการหลังการเก็บ
                       เกี่ยว จึงมีผลกระทบกับเสถียรภาพของคุณภาพของผลผลิตและท าให๎เกิดปัญหาขึ้น ปัญหาความไมํสม่ าเสมอใน
                       คุณภาพข๎าวหอมมะลิที่ผลิตในแตํละปีมีทั้ง ในด๎านกายภาพ ทางเคมี และความหอม สาเหตุของความไมํสม่ าเสมอ
                       ของผลผลิตข๎าวหอมนี้นําจะมาจากสาเหตุหลัก 2 ประการคือ การปลูกข๎าวของเกษตรกร เพื่อให๎ได๎คุณภาพข๎าวที่ดี
                       นั้น ขึ้นอยูํกับสภาพแวดล๎อมและการจัดการที่ดีและถูกต๎อง สํวนการแปรสภาพและการจัดการของโรงสีและผู๎สํงออก
                       ก็มีผลตํอคุณภาพข๎าวที่ไมํสม่ าเสมอ อาจเกิดจากการจัดการของโรงสี การแปรสภาพ สภาพแวดล๎อมในการเก็บรักษา
                       ข๎าวสารและระบบโลจิสติก (รณชัย และคณะ, 2558)
                              จะเห็นได๎วํากระบวนการผลิตและกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวเป็นปัจจัยหนึ่งที่สํงผลตํอคุณภาพของข๎าว
                       หอมมะลิ โดยเฉพาะอยํางยิ่งในด๎านความหอม โดยสามารถแบํงออกเป็น 3 กลุํมหลัก คือ
                              1) อิทธิพลของรูปแบบการเขตกรรมต่อความหอมของข้าว

                                 เขตกรรม หรือ agricultural  practice  คือกระบวนการปฏิบัติทางการเกษตรตั้งแตํการเตรียมเมล็ด
                       การเตรียมพื้นที่ปลูก ตลอดจนการดูแลรักษา ในการผลิตข๎าวหอมมะลิ การเขตกรรม หมายถึง กระบวนการปลูกข๎าว
                       ทั้งหมด ซึ่งมีรายงานวําสภาพแวดล๎อมในการปลูก เชํน ปริมาณน้ า คุณภาพดินและแรํธาตุในดินมีผลตํอกระบวนการ
                       สร๎างและการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในข๎าว จึงท าให๎มีการจัดการกลยุทธ์การเพาะปลูกโดยเพิ่ม
                       ปัจจัยที่สํงเสริมการผลิตสารหอม(สุกัญญา และคณะ, 2556) โดยพบวําปริมาณสารหอม
                       2-acetyl-1-pyrroline  แตกตํางกันตามแหลํงผลิต พื้นที่ปลูก วิธีการจัดการของแหลํงผลิต และสภาพแวดล๎อม
                       (กฤษณา และคณะ, 2558)

                                 ในสํวนของแหล่งผลิตหรือพื้นที่ปลูก ซึ่งในประเทศไทยมีการปลูกข๎าวกันทั่วทั้งประเทศ พบวําพื้นที่
                       ปลูกที่ตํางกัน สํงผลตํอการสร๎างและสะสมปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในข๎าว (ภาพที่ 2.3) ใน
                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่ที่มีการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากกวําในภาคอื่นๆ
                       (Yoshihashiet al., 2004) และในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังพบเชํนเดียวกันวํา แหลํงปลูกที่ตํางกันมีผล
                       ท าให๎การสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline แตกตํางกันออกไป (ภาพที่ 2.4 และ 2.5) ลักษณะเชํนนี้พบได๎
                       เชํนเดียวกันกับการปลูกข๎าวในภาคเหนือของประเทศ ซึ่งผลลักษณะนี้สอดคล๎องกับที่พบวําพื้นที่ปลูกที่มี
                       สภาพแวดล๎อมตํางกันสํงผลให๎เกิดการสร๎างและการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในปริมาณที่ตํางกัน
                       (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547) การที่แหลํงผลิตหรือพื้นที่ปลูกที่ตํางกัน สํงผลให๎มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-
                       pyrroline แตกตํางกัน สํวนหนึ่งเป็นผลมาจากการที่มีปัจจัยทางด๎านสภาพแวดล๎อมตํางกัน โดยเมื่อพิจารณาถึง
                       สภาพแวดล้อมระหว่างการเพาะปลูก สิ่งที่เป็นปัจจัยหลักคือปริมาณน้ าฝน และอุณหภูมิเฉลี่ยระหวํางการออกรวง
                       ถึงเก็บเกี่ยวเมื่อเปรียบเทียบฤดูปลูกปี 2554 และ 2555 พบวํา อุณหภูมิเป็นปัจจัยส าคัญที่สํงผลตํอการสะสมสาร
                       หอม 2-acetyl-1-pyrroline มากกวําปริมาณน้ าฝน โดยเมื่ออุณหภูมิระหวํางเพาะปลูกลดลง สํงผลให๎เกิดการสะสม
                       สารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากขึ้น (กฤษณา และคณะ, 2558) นอกจากที่แหลํงปลูกมีผลให๎สภาพแวดล๎อม
                       แตกตํางกันแล๎ว แหลํงปลูกที่ตํางกันยังมีสภาพของดินตํางกันด๎วย โดยการผลิตข๎าวในเขตพื้นที่ดินเค็มจะท าให๎มีการ




                                                                                                        11
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44