Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       เปลี่ยนแปลงของปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในทางบวก สํวนตัวแปรจากปริมาณของธาตุทองแดง
                       เหล็ก และคํา pH เป็นตัวแปรหลักที่สํงผลในเชิงลบ (กฤษณา และคณะ, 2558) มีรายงานการศึกษาการจัดการธาตุ
                       อาหารพืชการใสํธาตุแมงกานีส ซัลเฟอร์ และ โซเดียม ในการปลูกข๎าวในสารละลาย มีแนวโน๎มท าให๎สารหอม
                       2-acetyl-1-pyrroline    ในเมล็ดข๎าวสูงขึ้น การทดสอบในดินชุดตํางๆ พบวํา ในแตํละชุดดินมีปริมาณธาตุอาหาร
                       แตกตํางกันท าให๎เมล็ดข๎าวมีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline  ในระดับที่แตกตํางกัน ในดินชุดร๎อยเอ็ด การ
                       ใสํธาตุอาหารตํางๆ ไมํท าให๎ผลผลิตแตกตํางกัน อยํางไรก็ตาม การเพิ่มธาตุอาหาร แมงกานีส ซัลเฟอร์ แมกนีเซียม
                       และแคลเซียมท าให๎เมล็ดข๎าวมีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline    เพิ่มขึ้น ขณะที่การทดสอบในแปลงนาที่
                       เป็นดินรํวนปนทรายสภาพนาน้ าฝน พบวํา การใสํซัลเฟอร์ อัตรา 1.5 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีอัตรา 6-6-4
                       กิโลกรัม N-P O -K O  ตํอไรํ ท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline    มากกวําการใสํซัลเฟอร์อัตรา 3
                                2 5 2
                       กิโลกรัมตํอไรํ แตํจะมีผลผลิตข๎าวสูงสุดในกรรมวิธีที่ใสํปุ๋ยเคมีอัตรา 6-6-4  กิโลกรัมของ N-P O -K O ตํอไรํ รํวม
                                                                                           2 5 2
                       กับซัลเฟอร์ หรือยิปซั่ม (รณชัย และคณะ,  2558)  นอกจากนี้ยังมีรายงานถึงการสร๎างสูตรธาตุอาหารที่เหมาะสม
                       ส าหรับการสร๎างสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline พบวําการเพิ่มธาตุอาหารเดี่ยวให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-
                       pyrroline ในเมล็ดข๎าวขาวดอกมะลิ 105 สูงกวําคําที่วัดได๎จากแปลงปลูกทั่วไปเป็นปริมาณกวํา 2 เทํา สํวนสูตรธาตุ
                       อาหารผสมสํวนใหญํสํงเสริมการสร๎างสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในใบข๎าว โดยสูตรที่สํงเสริมมากที่สุดให๎
                       ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากเป็น 2 เทําของชุดควบคุม (สุกัญญา และคณะ, 2556) แตํพบวํา การ
                       ใช๎ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ ในการปลูกข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ที่จังหวัดสุรินทร์ ไมํมีผลท าให๎ปริมาณสารหอม 2-
                       acetyl-1-pyrroline ตํางกัน (อภิวัฒน์ และคณะ, 2559)

                                 นอกจากที่กลําวมาข๎างต๎นแล๎วยังมีรายงานการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการแปลงปลูกด๎วยวิธีการอื่นๆ
                       เพื่อเพิ่มปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline อีกหลายรูปแบบ อาทิเชํน การควบคุมแหลํงสังเคราะห์แสง หรือ
                       การตัดใบ พบวํา ข๎าวที่ควบคุมแหลํงสังเคราะห์แสงแบบตัดทุกใบ มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline เฉลี่ย
                       สูงที่สุดที่ระยะออกรวง หลังจากนั้นมีแนวโน๎มลดลงเมื่อเข๎าสูํระยะน้ านม ส าหรับการควบคุมแหลํงสังเคราะห์แสง
                       แบบคลุมรวง มีผลท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในเมล็ดข๎าวสูงสุดที่ระยะแป้งอํอน และมีแนวโน๎ม
                       เพิ่มขึ้นจนถึงระยะเก็บเกี่ยว ส าหรับที่ระยะแป้งแข็งและระยะเก็บเกี่ยวพบวํา การควบคุมแหลํงสังเคราะห์แสงแบบ
                       ตัดทุกใบ ยังคงมีผลท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในเมล็ดข๎าวเฉลี่ยสูงที่สุด (นันทวรรณ, 2547)
                       การบังแสง เป็นรูปแบบการจัดการแปลงปลูกอีกวิธีการหนึ่งที่สํงผลตํอการสร๎างและการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-
                       pyrroline ในเมล็ดข๎าว โดยพบวํา เมื่อเพิ่มระดับการบังแสง มีผลท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ใน
                       ระยะสุกแกํทางสรีรวิทยาสูงกวําที่ระดับการบังแสงต่ า ส าหรับปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในระยะ
                       เมล็ดน้ านม ระยะเมล็ดอํอน และระยะเก็บเกี่ยว พบวํา เมื่อเพิ่มการบังแสงมีผลท าให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-
                       pyrroline ในเมล็ดลดลง (สุทธกานต์, 2546) และยังมีรายงานการศึกษาถึงการพ่นสารต่างๆ เพิ่มสํงเสริมหรือชักน า
                       ให๎เมล็ดมีการสะสมสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากขึ้น โดยพบวําการพํนเกลือแกงที่ระยะก าเนิดชํอรวง ไมํท า
                       ให๎ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในเมล็ดเพิ่มขึ้น (ศักดิ์ดา และคณะ, 2547) และยังพบวําการใช๎สารหอม
                       2-acetyl-1-pyrroline ในอัตรา 1.028 ml/L ชํวยสํงเสริมให๎มีการสะสมปริมาณสารหอมในข๎าวเพิ่มมากขึ้นอยํางมี
                       นัยส าคัญ (Mo et al., 2016)
                              2. กระบวนการเก็บเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความหอมข้าว
                                 การเก็บเกี่ยว เป็นการจัดการหนึ่งที่สํงผลตํอการสะสมปริมาณ สารหอม 2-acetyl-1-pyrroline โดย
                       ผลจากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline ในรอบวันของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ที่
                       ปลูกในแปลงนาดินทราย พบวํา ปริมาณสารหอมเมื่อข๎าวอยูํในระยะ gain filling ในชํวงเวลา 09.00-16.00 น. มี
                       ความสัมพันธ์สอดคล๎องกับอัตราการสังเคราะห์แสง โดยในชํวงเวลา 09.00-13.00 น. เป็นชํวงเวลาที่มีการสะสม
                       ปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline มากขึ้น และมีแนวโน๎มลงลดในชํวงเวลา 14.00-16.00 น. ดังนั้นเวลาเก็บ
                       เกี่ยวข้าว ควรเก็บเกี่ยวในชํวงเวลา 13.00 น. เป็นชํวงเวลาที่มีการสะสมปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline
                       มากที่สุด โดยปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเมล็ดมีการพัฒนามากขึ้น และมีปริมาณสูงที่สุด
                       ในระยะเมล็ดเป็นน้ านม 50% คาดวําหลังจากนั้นมีการระเหยออกไปพร๎อมกับความชื้นในเมล็ดที่ลดลงจนถึงระยะ
                       เก็บเกี่ยว (ศักดิ์ดา และคณะ,  2547) ระยะเวลาเก็บเกี่ยวข้าว เป็นปัจจัยที่มีผลตํอการสะสมปริมาณสารหอม 2-
                       acetyl-1-pyrroline โดยข๎าวที่เกี่ยว 25 และ 30 วันหลังออกดอก มีปริมาณสารหอม 2-acetyl-1-pyrroline สูง
                       กวําข๎าวที่เกี่ยวระยะ 35 และ 40 วัน ระยะเวลาการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม คือ 25 และ 30 วันหลังออกดอก (สุกัญญา




                                                                                                        14
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47