Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                  Z  2 pq
                              n 
                                   E  2                                                (3.1)
                                     Z = คําความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได๎ ซึ่งคําระดับความเชื่อมั่น (level of confidence) หรือ
                       ระดับความส าคัญ (level  of  significant) สามารถก าหนดได๎ โดยทั่วๆ ไปใช๎ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งมีคํา Z
                       เทํากับ 1.96

                                     E  = คําคลาดเคลื่อนในการประมาณคําเฉลี่ยประชากร () ด๎วยคําเฉลี่ยตัวอยําง หรือคํา
                       ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได๎ ในที่นี้ยอมให๎ผิดพลาด (E) ได๎แตํไมํเกิน 5%
                                     P  และ q  =  คําสัดสํวนของตัวอยํางที่คาดวําจะเป็นและสํวนอื่นๆ ที่เหลือ คือสัดสํวนของ
                       เกษตรกรที่มียุ๎งฉางและเก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉางกํอนน าไปจ าหนําย ในที่นี้คาดวําจะมี 80% และไมํมียุ๎งฉางหรือไมํได๎เก็บ
                       ข๎าวไว๎ในยุ๎งฉางอีก 20% แทนคําในสมการ (3.1) จะได๎สมการที่ (3.2)


                              n    . 1 (  96 ) 2  . 0 (  80 )(  . 0  20 )    246
                                         . 0 (  05 ) 2                                 (3.2)

                              ดังนั้นจ านวนตัวอยํางที่ใช๎ในการศึกษาขั้นต่ า คือ 246 ราย อยํางไรก็ตามการสุํมตัวอยํางเพื่อให๎ข๎อมูลมีการ
                       กระจายปกติจ านวนตัวอยํางในแตํละกลุํมต๎องไมํต่ ากวํา 30 ตัวอยําง ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้มีจังหวัดที่
                       ท าการศึกษาจ านวน 9 จังหวัด จึงมีจ านวนตัวอยํางในการศึกษารวม 30 ตัวอยําง*9 จังหวัด เทํากับ 270 ตัวอยําง
                       ส าหรับเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝน และจัดเก็บตัวอยํางข๎าวเพื่อเป็นตัวแทนเกษตรกรเพิ่มเติมอีก 60 ตัวอยํางจาก
                       พื้นที่ชลประทานใน 3 จังหวัด ได๎แกํ นครพนม ร๎อยเอ็ดและอุบลราชธานี รวมจ านวนตัวอยําง 330 ตัวอยําง ซึ่งมากกวํา
                       จ านวนตัวอยํางขั้นต่ า


                       การสุ่มตัวอย่าง

                              การสุํมตัวอยํางใช๎การสุํมตัวอยํางแบบหลายขั้นตอน รํวมกับการสุํมตัวอยํางแบบเจาะจงและการสุํม
                       ตัวอยํางแบบงําย โดยมีรายละเอียดในแตํละขั้นตอน ดังนี้
                              1. การเลือกจังหวัด เพื่อเป็นตัวแทนของพื้นที่ศึกษา มีหลักเกณฑ์ที่ส าคัญคือ
                                 1) แบํงเขตพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกเป็น 3 พื้นที่ คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
                       (อีสานเหนือ) ตอนกลาง (อีสานกลาง) และตอนลําง (อีสานใต๎) ก าหนดจ านวนจังหวัดในแตํละเขตโดยพิจารณาจาก
                       สัดสํวนพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิในแตํละเขต โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนมีสัดสํวนพื้นที่เพาะปลูกข๎าว
                       หอมมะลิ 7.27% ตอนกลาง 28.84% และตอนลําง 63.90%  ของพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิทั้งภูมิภาค ดังนั้น
                       จ านวนจังหวัดที่เป็นพื้นที่ศึกษาทั้งหมดจ านวน 9 จังหวัด เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 จังหวัด
                       ตอนกลาง 3 จังหวัด และตอนลําง 5 จังหวัด (ตารางที่ 3.1)
                                 2) เลือกจังหวัดที่มีสัดสํวนพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากที่สุดในแตํละเขตของภาค
                       ตะวันออกเฉียงเหนือ (ตารางที่ 3.1) ได๎แกํ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (นครพนม) ตอนกลาง (ยโสธร
                       มหาสารคาม และร้อยเอ็ด) และตอนลําง (นครราชสีมา อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์) สํวนพื้นที่
                       เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิในเขตชลประทานจะเลือก 3 จังหวัดที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวนาปรังสูงที่สุดในแตํละเขตภาค
                       ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (นครพนม) ตอนกลาง (ร้อยเอ็ด) และตอนลําง (อุบลราชธานี)














                                                                                                        18
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51