Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                              วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการ
                       จ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร
                              2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรเป็นการหาความสัมพันธ์
                       ปัจจัยด๎านกายภาพของเกษตรกรและฟาร์ม ปัจจัยด๎ายเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร (Nwet et al.,
                       2017) กับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร ใช๎วิธีการวิเคราะห์โดยแบบจ าลอง Binomial logistic regression
                       ซึ่งการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรมี 2 กลุํม คือ กลุํมที่ขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวโดยไมํเก็บไว๎รอราคาและ
                       กลุํมที่เก็บข๎าวไว๎รอราคา ดังนั้นตัวแปรตามคือการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวจะเป็นตัวแปรที่ไมํตํอเนื่องมีคําเทํากับ 0/1
                       โดยที่ 0 แทนเกษตรกรที่ขายข๎าวทันทีไมํเก็บข๎าวไว๎รอราคา และ 1 แทนเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคาเพื่อขายข๎าว
                       หลังฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งแบบจ าลอง Binomial logistic model เป็นแบบจ าลองที่เหมาะสมส าหรับการวิเคราะห์ข๎อมูล
                       ในลักษณะนี้ ข๎อสมมติของแบบจ าลองคือก าหนดให๎ความนําจะเป็นของการตัดสินใจของเกษตรกรขึ้นอยูํกับเวคเตอร์
                       ของตัวแปรอิสระ X  : ซึ่งเกี่ยวข๎องกับเกษตรกรรายที่ i และ ตัวแปร j และ เวคเตอร์ของพารามิเตอร์ที่ไมํทราบคํา
                                     ij
                       (β) ดังสมการที่ (3.3) (Xiong, 2016)



                                      (  )    (   )     [       (  )]                          (3.3)





                                 โดยที่     F   คือ  ฟังก์ชั่นการกระจายสะสม (cumulative distribution function : CDF).
                                            β คือ พารามิเตอร์ที่ไมํทราบคํา

                                 การประมาณคําแบบจ าลองใช๎วิธี maximum likelihood โดยวิธี logistic regression จะสามารถ
                       ประมาณคําความนําจะเป็นของการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร โดยสามารถอธิบาย ได๎ดังสมการ (3.4)


                                      [     ]                                                  (3.4)





                                 หลังจากประมาณคําแบบจ าลอง logistic โดยวิธี maximum likelihood แล๎ว จะท าการประมาณคํา
                       ความนําจะเป็นของการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรตามรูปแบบการผลิตและภูมิภาคของเกษตรกร รวมทั้งการ
                       ประมาณคําแบบจ าลอง marginal effect ซึ่งเป็นการประมาณการความนําจะเป็นของการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวที่เกิด
                       จากตัวแปร X แตํละตัว (  ) โดยที่ก าหนดให๎ปัจจัยอื่นๆ คงที่ ดังสมการที่ (3.5)


                                                                                                      (3.5)



                                 โดยที่ตัวแปรตาม คือ การตัดสินใจจัดเก็บข๎าว และตัวแปรอิสระ แบํงเป็น 4  กลุํม ได๎แกํ 1) ลักษณะ
                       ทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร 2) ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม 3) ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และ 4) ปัจจัยด๎าน
                       สังคมและการสื่อสาร ความหมายและค าอธิบายตัวแปรแสดงดังตารางที่ 3.5

















                                                                                                        23
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56