Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ตารางที่ 3.5  ตัวแปรและค าอธิบายตัวแปรที่สํงผลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร โดยใช๎แบบจ าลอง
                                 binomial logistic regression
                          ตัวแปร            ชื่อตัวแปร                     ค าอธิบายตัวแปร/หน่วย
                       ตัวแปรตาม (dependent variable)
                       STORAGE      การตัดสินใจเก็บข๎าวไว๎ขาย   0=ไมํเก็บ 1=เก็บ
                       ตัวแปรอิสระ (independent variables)
                       ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน
                       SEX          เพศแรงงานหลัก            1=ชาย 2=หญิง
                       AGE          อายุแรงงานหลัก           ปี
                       EDU          ระดับการศึกษาแรงงานหลัก   1=ไมํได๎เรียน 2=ประถมศึกษา 3=มัธยมศึกษาตอนต๎น 4=
                                                             มัธยมศึกษาตอนปลาย 5=อนุปริญญาขึ้นไป
                       AGLABOR      จ านวนแรงงานภาคเกษตร     คน
                       FEMALESHARE  สัดสํวนแรงงานเพศหญิง     %
                       MCARREER     อาชีพหลักคือการท าเกษตร   0=ไมํใชํ  1=ใชํ
                       MLABOR       แรงงานหลักเป็นหัวหน๎าครัวเรือน  0=ไมํใชํ  1=ใชํ
                       INCOME       รายได๎ครัวเรือน          บาท/ปี
                       DEPT         หนี้สินครัวเรือน         0=ไมํมี  1=มี
                       ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม
                       REGION       ภูมิภาค                  1=อีสานเหนือ 2=อีสานกลาง 3=อีสานใต๎
                       GROUP        สภาพแวดล๎อม/รูปแบบการผลิต   1=นาน้ าฝน-ข๎าวทั่วไป 2=นาน้ าฝน-ข๎าวอินทรีย์
                                                             3=นาชลประทาน-ข๎าวทั่วไป
                       JASAREA      พื้นที่ปลูกข๎าวหอมมะลิ   ไรํ
                       JASYIELD     ผลผลิตข๎าวหอมมะลิ        ตัน
                       BARN         การมียุ๎งฉาง             0=ไมํมี  1=มี
                       BARNCAP      ปริมาตรของสถานที่เก็บข๎าว   ลบ.ม.
                       HARMED       วิธีการเก็บเกี่ยว        1=รถเกี่ยวนวด 2=แรงงานคน 3=รถเกี่ยวนวดและแรงงานคน
                       DRYLABOR     แรงงานที่ใช๎ตากข๎าว      1=แรงงานครัวเรือน 2=แรงงานครัวเรือนและแลกเปลี่ยน
                                                             3=แรงงานครัวเรือนและจ๎าง 4=แรงงานจ๎าง
                       ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ
                       DRYCOST      ต๎นทุนคําตากข๎าว         บาท/ตัน
                       CASHCOST     ต๎นทุนการปลูกข๎าวหอมมะลิเงินสด  บาท/ปี
                       JASPRICE     ราคาข๎าวหอมมะลิชํวงที่เก็บเกี่ยว  บาท/กิโลกรัม
                       ปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร
                       MAMORG       การเป็นสมาชิกสถาบันการเงิน   0=ไมํใชํ  1=ใชํ
                       MEMGROUP     การเป็นสมาชิกกลุํมเกษตรกร   0=ไมํใชํ  1=ใชํ
                       PLEDJOIN     เคยเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง   0=ไมํเคย  1=เคย
                       PLEDKNOW     รู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง   0=ไมํรู๎จัก  1=รู๎จัก
                       TRAINNING    เคยเข๎าอบรมการปลูกข๎าว   0=ไมํใชํ  1=ใชํ


                              2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. เป็นการหา
                       ความสัมพันธ์ระหวํางปัจจัยด๎านกายภาพของเกษตรกรและฟาร์ม ปัจจัยด๎ายเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการ
                       สื่อสาร กับการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร ใช๎วิธีการวิเคราะห์โดยแบบจ าลอง binomial Logistic
                       regression  เชํนเดียวกับการวิเคราะห์การตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรในข๎อ 2.1 ซึ่งการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการ
                       จ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. มี 2 กลุํม คือ กลุํมที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง (จ านวน 85 ราย) และไมํได๎เข๎ารํวมโครงการ
                       จ าน ายุ๎งฉาง (245 ราย) ดังนั้นตัวแปรตามคือการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวจะเป็นตัวแปรที่ไมํตํอเนื่อง (discrete variable) มีคํา
                       เทํากับ 0/1 โดยที่ 0 แทนเกษตรกรที่ไมํเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. และ 1 แทนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการ
                       จ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส.  โดยตัวแปรอิสระ แบํงเป็น 4  กลุํม ได๎แกํ 1) ลักษณะทางกายภาพของเกษตรกร 2)  ปัจจัยด๎าน



                                                                                                        24
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57