Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       น้ าหนักข๎าวหัก น าเมล็ดข๎าวทั้งต๎นข๎าว และข๎าวหักมาคัดแยกเมล็ดปนออก จากนั้นน าต๎นข๎าวไปประเมินท๎องไขํ
                       (เมล็ดข๎าวเจ๎าที่เป็นข๎าวขุํนเหมือนชอร์กที่มีเนื้อ ตั้งแตํ 50% ขึ้นไปของเนื้อเมล็ดข๎าว) โดยใช๎เครื่องวัดข๎าวท๎องไขํ ชั่ง
                       และบันทึกน้ าหนักต๎นข๎าวและข๎าวท๎องไขํ แล๎วน ามาค านวณเป็นเปอร์เซ็นต์ ดังนี้
                                                                       น้ าหนักต๎นข๎าว  กรัม
                                            เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว  =                            ×100
                                                                  น้ าหนักตัวอยํางข๎าวทั้งหมดที่ใช๎  กรัม

                                                                      น้ าหนักข๎าวท๎องไขํ  กรัม
                                            เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ   =                          ×100
                                                                  น้ าหนักตัวอยํางข๎าวทั้งหมดที่ใช๎  กรัม


                                                                      น้ าหนักเมล็ดข๎าวหัก  กรัม
                                            เปอร์เซ็นต์เมล็ดหัก =                            ×100
                                                                  น้ าหนักตัวอยํางข๎าวทั้งหมดที่ใช๎  กรัม
                                        - ปริมาณสาร 2-acetyl-1-pyrroline  (2AP)  โดยใช๎ Automated  Headspace  Gas
                       Chromatography ตามวิธีการของ Sriseadka et al. (2006)
                                      4) วิเคราะห์ความแปรปรวนของข๎อมูลตามแผนการทดลองเมื่อพบความแตกตํางทางสถิติ
                       เปรียบเทียบคําเฉลี่ยด๎วยวิธี least significant different ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

                              3.2 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของคุณภาพข้าวและการจัดการยุ้งฉางของเกษตรกรโดยใช้การวิจัยเชิง
                       ส ารวจ
                              จากการตรวจเอกสารผลงานวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข๎อง พบวํา ตัวแปรด๎านคุณภาพข๎าวตามมาตรฐานการ
                       ซื้อขายข๎าวประกอบด๎วย 3 ตัวแปรหลัก ได๎แกํ ความชื้นเปอร์เซ็นต์ และเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ (กัญญา, 2547) สํวนตัวแปร
                       คุณภาพทั่วไปของข๎าวหอมมะลิคือต๎องมีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ (สถาบันวิจัยข๎าว, 2548) ดังนั้น คุณภาพข๎าวที่ใช๎เป็นตัว
                       แปรตาม (independent  variable)  ในการศึกษาครั้งนี้มี 4 ตัวแปร ได๎แกํ ความหอมของข๎าว (วัดจากปริมาณสาร 2AP)
                       เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว ความชื้น และเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ สํวนตัวแปรอิสระ (dependent variable) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข๎องกับ
                       คุณภาพข๎าวจะแบํงออกเป็น 2 กลุํม คือ 1) ปัจจัยทางด๎านกายภาพ ได๎แกํ ขนาดและความสูงของยุ๎งฉาง ลักษณะของยุ๎ง
                       ฉาง (ความสูงจากพื้น ชนิดของวัสดุใต๎ฐานยุ๎งฉาง การขังของน้ าใต๎ยุ๎ง ชนิดของวัสดุหลังคา ชนิดของวัสดุข๎างยุ๎ง ชนิดของ
                       วัสดุท าพื้นยุ๎ง ต าแหนํงที่ตั้ง และการบังแสงแดด 2) ปัจจัยด๎านการจัดการของเกษตรกร ได๎แกํ รูปแบบการเก็บข๎าว
                       รูปแบบการจัดเรียงกระสอบ ความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉาง ใช๎วิธีการวิเคราะห์โดยคําเฉลี่ยและเปอร์เซ็นต์ เปรียบเทียบความ
                       แตกตํางของคําเฉลี่ยแตํละกลุํมโดยใช๎การวิเคราะห์คําความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) และสถิติที (t-
                       test)  ส าหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการจัดเก็บกับคุณภาพข๎าวโดยใช๎สมการถดถอดแบบโทบิท (Tobit
                       Regression  Analysis)  เนื่องจากตัวแปรตามมีการกระจายเบ๎ไปทางใดทางหนึ่ง โดยรายละเอียดตัวแปรที่ใช๎ในการศึกษา
                       แสดงดังตารางที่ 3.7


























                                                                                                        27
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60