Page 57 -
P. 57
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4
การตัดสินใจจัดเก็บข้าวและต้นทุนการจัดเก็บ
บทน า
หลังจากเกษตรกรเก็บเกี่ยวข๎าวแล๎วมีทางเลือกสองทางคือขายข๎าวทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวหรือเก็บ
ข๎าวเปลือกไว๎ในยุ๎งฉางหรือสถานที่เก็บข๎าวกํอนรอให๎ได๎รับราคาที่พอใจจึงขายข๎าว ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แล๎ว
เกษตรกรจะตัดสินใจเก็บผลผลิตไว๎เพื่อรอราคาหากคาดการณ์วําราคาที่ได๎รับจะสูงกวําต๎นทุนการจัดเก็บ สํวนใหญํ
ราคาข๎าวจะตกต่ าในชํวงฤดูการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นชํวงระยะเวลาสั้นๆ และจะเพิ่มขึ้นหลังจากชํวงเวลานั้น การที่ในชํวง
ฤดูเก็บเกี่ยวราคาผลผลิตข๎าวตกต่ าสํงผลให๎เกษตรกรได๎รับรายได๎ที่ต่ ากวําที่ควรจะเป็น ดังนั้นการเก็บข๎าวไว๎รอให๎
ราคาเพิ่มสูงขึ้นหลังจากชํวงฤดูเก็บเกี่ยวผํานพ๎นไป นําจะเป็นทางเลือกที่ดีกวํา อยํางไรก็ตามในชํวงที่ผํานมา
เกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิสํวนใหญํตัดสินใจขายข๎าวทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวแม๎วําจะคาดการณ์ราคาที่สูงกวํา
ต๎นทุนสํวนเพิ่ม ดังนั้นปัจจัยด๎านราคาจึงอาจไมํใชํปัจจัยเดียวที่สํงผลกระทบตํอการตัดสินใจของเกษตรกร แตํอาจจะ
มีปัจจัยด๎านอื่นๆ เชํน ความจ าเป็นในการใช๎จําย การขาดแคลนสถานที่ตากข๎าวหรือที่จัดเก็บ การขาดแคลนแรงงาน
หนี้สินครัวเรือน หรือปัจจัยอื่นๆ ดังนั้นในบทนี้จะวิเคราะห์ปัจจัยตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอม
มะลิของเกษตรกร โดยแบํงตัวแปรที่อาจมีผลกระทบกับการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร ออกเป็น 4 ด๎านได๎แกํ 1)
สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร 2) ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม 3) ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และ 4)
ปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร
การตัดสินใจจัดเก็บข้าวของเกษตรกร
ข๎าวหอมมะลิที่เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกปัจจุบันมีสองพันธุ์ คือขาวดอกมะลิ 105 และ
6
กข15 ซึ่งข๎าวทั้งสองพันธุ์ล๎วนเป็นข๎าวที่ไวตํอชํวงแสงปลูกได๎เพียงปีละครั้ง ข๎าว กข15 จะเก็บเกี่ยวกํอนข๎าวขาว
ดอกมะลิ 105 ประมาณ 2-3 สัปดาห์ ชํวงเวลาของการเก็บเกี่ยวคือ 15 ตุลาคม- 5 พฤศจิกายนส าหรับข๎าว กข15
และ 5 พฤศจิกายน-5 ธันวาคม ส าหรับข๎าวขาวดอกมะลิ 105 เกษตรกรที่ขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวสํวนใหญํให๎
เหตุผลวําจ าเป็นต๎องน าเงินไปจํายคําลงทุนท านา (คําเก็บเกี่ยว คําปุ๋ย) ครบรอบเวลาช าระหนี้สินคืนให๎ ธ.ก.ส. หรือ
บางรายมีความจ าเป็นต๎องน าเงินไปใช๎เป็นจํายคําใช๎จํายอื่นๆ ในครอบครัว เชํน คําเลําเรียนบุตร สํวนเกษตรกรที่ไมํ
ขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวหรือขายทันทีเพียงบางสํวนและเก็บข๎าวไว๎สํวนหนึ่ง ให๎เหตุผลวําไมํมีสถานที่เก็บ และมี
ความยุํงยากหรือคํอนข๎างล าบากในการตากข๎าว เกษตรกรสํวนใหญํ 78.85% ขายข๎าวทันทีหลังจากเก็บเกี่ยว (ขาย
บางสํวน) และอีก 21.15% จะยังไมํขายผลผลิตทันทีโดยจะตากข๎าวให๎แห๎งแล๎วเก็บไว๎ในยุ๎งฉางกํอน ซึ่งวัตถุประสงค์
ของการจัดเก็บข๎าวมี 3 ข๎อหลักคือ 1) เก็บไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2) เก็บไว๎เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์ และ 3) เก็บไว๎ขาย
ซึ่งในเกษตรกรกลุํมนี้บางสํวนอาจจะเข๎ารํวมโครงการชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) ของ ธ.ก.ส. เพื่อ
รอราคาข๎าวเพิ่มขึ้นหลังจากผํานพ๎นชํวงฤดูเก็บเกี่ยว จากการส ารวจข๎อมูลพบวําเกษตรกรประมาณ 52.57% เก็บ
ข๎าวไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือนและใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์ส าหรับฤดูกาลเพาะปลูกตํอไปเทํานั้น สํวนเกษตรกรที่เก็บผลผลิต
ไว๎ขายจะมีประมาณ 23.26% สํวนอีก 24.17% เก็บข๎าวไว๎เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ซึ่งจากข๎อมูลพบวํา
เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายหรือเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํจะเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าว
หอมมะลิมากกวํา 30 ไรํขึ้นไป โดยเกษตรกรรายใหญํจะเก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขายและเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
กับ ธ.ก.ส.ประมาณ 66.67% ในขณะที่เกษตรกรรายเล็กสํวนใหญํ 75.45% จะเก็บข๎าวไว๎บริโภคในครัวเรือนและ
เก็บไว๎เป็นเมล็ดพันธุ์ส าหรับฤดูกาลเพาะปลูกในปีถัดไป (ตารางที่ 4.1)
6 ได๎จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช๎รังสีชักน าให๎เกิดการกลายพันธุ์ ของข๎าวขาวดอกมะลิ 105 จะสุกและสามารถเกี่ยวได๎กํอนข๎าวขาว
ดอกมะลิ 105 ประมาณ 20 วัน รับรองสายพันธุ์เมื่อ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521