Page 61 -
P. 61
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม
รูปแบบการเก็บเกี่ยวข๎าวของเกษตรกรสํวนใหญํประมาณ 90% ใช๎รถเกี่ยวนวดในการเก็บเกี่ยวข๎าว
ผลผลิตที่ได๎จะเป็นข๎าวสดที่มีความชื้นสูง ดังนั้นกํอนจัดเก็บข๎าวจ าเป็นต๎องลดความชื้นด๎วยการตากข๎าวกํอน รูปแบบ
แรงงานที่ใช๎ในการตากข๎าวสํวนใหญํจะใช๎แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก เกษตรกรกวํา 90% ใช๎เฉพาะแรงงาน
ครัวเรือนเทํานั้นหรือบางสํวนประมาณ 2.87-5.56% จะใช๎แรงงานแลกเปลี่ยน เชํน ลูกหลาน ญาติ หรือเพื่อนบ๎าน
มาชํวยในกิจกรรมดังกลําว การใช๎แรงงานจ๎างแทบจะไมํปรากฏในกระบวนการนี้ ยกเว๎นเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายซึ่ง
จ าเป็นต๎องตากข๎าวในปริมาณมาก จะใช๎แรงงานจ๎างแตํสัดสํวนมีประมาณ 2.6% ของจ านวนครัวเรือนทั้งหมดเทํานั้น
ส าหรับขนาดพื้นที่เพาะปลูก พบวํา เกษตรกรมีพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย 28.72 ไรํ โดยพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิเฉลี่ย
23.80 ไรํ เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายมีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ 31.62 ไรํ สูงกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เก็บข๎าวไว๎ขาย
ประมาณ 2 เทํา และเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวําในพื้นที่อื่นๆ
โดยเกษตรกรผลิตข๎าวได๎เฉลี่ยประมาณ 7.63 ตันตํอครัวเรือน เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายมีผลผลิตข๎าวหอมมะลิเฉลี่ย
10.48 ตัน สูงกวําเกษตรกรที่ไมํเก็บไว๎รอราคา ที่มีผลผลิตเพียง 5.07 ตันตํอปีเทํานั้น เมื่อพิจารณาตาม
สภาพแวดล๎อมการผลิต พบวําเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไปมีผลผลิตข๎าวหอมมะลิมากกวําใน
พื้นที่อื่นๆ (ตารางที่ 4.3) ในสํวนของตัวแปรด๎านความสามารถในการจัดเก็บของเกษตรกร จะใช๎ความจุของยุ๎งฉาง
หรือสถานที่เก็บข๎าวเป็นตัวแทนซึ่งจากการส ารวจ พบวําความจุของยุ๎งฉางเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาเฉลี่ยประมาณ
12.22 ตัน โดยเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายมียุ๎งฉางขนาดความจุ 14.98 ตัน สูงกวําเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎บริโภคใน
ครัวเรือนและเก็บไว๎เป็นเมล็ดพันธุ์ที่มียุ๎งฉางมีความจุเพียง 9.72 ตัน ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมียุ๎งฉาง
ที่มีความจุน๎อยที่สุดคือเก็บข๎าวได๎ประมาณ 7.86 ตันตํอปีเทํานั้น สํวนเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมียุ๎ง
ฉางขนาดใหญํที่สุดมีความจุ 14.02 ตันตํอปี ในขณะที่จ านวนครัวเรือนที่มียุ๎งฉางมีประมาณ 81.57% และเกษตรกร
ที่เก็บข๎าวไว๎รอราคามีสัดสํวนประชากรที่มียุ๎งฉางสูงกวํากลุํมที่เก็บไว๎บริโภคในครัวเรือนนอกจากนั้นยังพบวําความจุ
ของยุ๎งฉางจะสัมพันธ์กับพื้นที่ปลูกข๎าวนาปีคือ พื้นที่มาก ผลผลิตข๎าวมาก ซึ่งต๎องมียุ๎งฉางขนาดใหญํเพื่อเก็บข๎าว
และเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีสัดสํวนของเกษตรกรที่มียุ๎งฉางเพียง 60% ที่เหลืออีก 40% จะเก็บข๎าวเปลือกใน
บ๎านหรือในพื้นที่ตํอเติมรอบรอบบ๎าน (ตารางที่ 4.3) รายละเอียดรูปแบบการจัดเก็บข๎าวจะกลําวถึงในบทถัดไป
ตารางที่ 4.3 ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม จ าแนกตามสภาพแวดล๎อมการผลิตและการตัดสินใจจัดเก็บข๎าว
สภาพแวดล้อมการผลิต การตัดสินใจจัดเก็บข้าว
ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม นาน้ าฝน ชลประทาน ไม่เก็บ เก็บไว้ รวม
ทั่วไป อินทรีย์ ข้าวทั่วไป ไว้ขาย ขาย
พื้นที่เพาะปลูกข๎าวนาปี (ไรํ) 32.58 26.66 21.93 22.49 35.62 28.72
พื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ (ไรํ) 27.93 22.74 14.49 16.74 31.62 23.80
ผลผลิตข๎าว (ตัน) 10.64 8.36 7.95 7.08 11.98 9.41
ผลผลิตข๎าวหอมมะลิ (ตัน) 8.98 7.08 4.98 5.07 10.48 7.63
ความจุของยุ๎งฉาง (ตัน) 1/ 14.02 11.92 7.86 9.72 14.98 12.22
ความจุของสถานที่เก็บข๎าว (ตัน) 15.28 12.98 11.49 11.79 16.12 13.84
ร๎อยละของครัวเรือนที่มียุ๎งฉาง 86.50 86.11 60.00 71.84 92.36 81.57
รูปแบบการเก็บเกี่ยว (%)
รถเกี่ยวนวด 93.87 89.81 88.33 87.93 95.54 91.54
แรงงานคน 4.91 7.41 11.67 10.34 3.18 6.95
รถเกี่ยวนวดและแรงงานคน 1.23 2.78 0.00 1.72 1.27 1.51
แรงงานในการตากข้าว (%)
แรงงานครัวเรือนเทํานั้น 94.34 92.45 92.86 94.05 92.86 93.48
แรงงานครัวเรือนและแลกเปลี่ยน 3.77 5.66 0.00 2.98 4.55 3.73
แรงงานครัวเรือนและจ๎าง 1.89 1.89 1.79 1.19 2.60 1.86
แรงงานจ๎างเทํานั้น 0.00 0.00 5.36 1.79 0.00 0.93
1/
หมายเหตุ: ความจุของยุ๎งฉางจ าแนกตามพื้นที่เพาะปลูก พบวํา ความจุของยุ๎งฉางมีความสมพันธ์กับขนาดพื้นที่เพาะปลูก โดย
เกษตรกรที่มีพื้นที่ขนาดเล็กมีความจุยุ๎งฉางเฉลี่ย 16.72 ตัน เกษตรกรกลุํมที่มีพื้นที่เพาะปลูกขนาดกลาง ความจุของยุ๎งฉางเฉลี่ย 22.16
และเกษตรกรรายใหญํ ยุ๎งฉางมีความจุเฉลี่ย 39.96 ตัน
ที่มา: จากการส ารวจ
33