Page 64 -
P. 64
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เกษตรกรที่ไมํเก็บข๎าวไว๎รอราคา ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ในพื้นที่นาน้ าฝนมีสัดสํวนเกษตรกรที่
เป็นสมาชิกของสถาบันการเงิน 71.30% สูงกวําเกษตรกรกลุํมอื่นๆ และมีสัดสํวนของประชากรที่เป็นสมาชิกกลุํม
เกษตรกรสูงกวํากลุํมอื่นๆด๎วยเชํนกัน ซึ่งโดยทั่วไปเกษตรกรที่เป็นสมาชิกขององค์กรหรือกลุํมเกษตรกรมีแนวโน๎มที่
จะยอมรับเทคโนโลยีใหมํๆ หรือแนวปฏิบัติใหมํมากกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เป็นหรือไมํได๎เข๎ารํวมกลุํมใดๆ เนื่องจากมี
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและได๎เห็นตัวอยํางการปฏิบัติจากเกษตรกรรายอื่นหรือมีโอกาสได๎รับการอบรมถํายทอด
ความรู๎วิชาการที่เป็นประโยชน์ตํอการตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติหรือเทคโนโลยีการปลูกข๎าวมากกวํา โดยการอบรม
ความรู๎เกี่ยวกับการปลูกข๎าวของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาจะมีหัวข๎อเกี่ยวกับการเขตกรรม การผลิตและการใช๎ปุ๋ย การ
ป้องกันก าจัดโรคและแมลงศัตรูพืช หรือระยะเวลาการเก็บเกี่ยวที่ถูกต๎อง แตํเกษตรกรไมํเคยได๎รับการอบรมหรือ
ถํายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ไมํวําจะเป็นวิธีการลดความชื้นที่ถูกต๎อง ระยะเวลาการลด
ความชื้นที่เหมาะสม รูปแบบการจัดเก็บข๎าว บรรจุภัณฑ์ส าหรับบรรจุข๎าวเพื่อจัดเก็บ วิธีการจัดเรียงข๎าวหรือการ
จัดการยุ๎งฉางที่ถูกต๎อง แม๎วําเกษตรกรต๎องการจัดเก็บข๎าวให๎มีคุณภาพโดยมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรราย
อื่นๆ แตํการจัดเก็บข๎าวที่ปฏิบัติอยูํใช๎ความรู๎จากประสบการณ์ของตนเองและจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษโดยไมํได๎
อ๎างอิงตามหลักวิชาการที่ถูกต๎อง ในสํวนของโครงการชะลอการขายข๎าวเปลือกของ ธ.ก.ส. (จ าน ายุ๎งฉาง) ซึ่งเป็น
นโยบายของรัฐบาลเพื่อชํวยเหลือเกษตรกรในชํวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวที่มีราคาผลผลิตข๎าวตกต่ าและลดอุปทาน
ข๎าวเปลือกในชํวงเวลาดังกลําว จากการส ารวจพบวํา เกษตรกรกลุํมที่เก็บข๎าวไว๎รอราคา 76.43% เคยเข๎ารํวม
โครงการจ าน ายุ๎งฉาง ในขณะที่เกษตรกรที่ไมํเก็บข๎าวไว๎ขายเคยเข๎ารํวมโครงการฯเพียง 29.59% และหากมองตาม
สภาพแวดล๎อมการผลิตพบวํา เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมีสัดสํวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ าน า
ยุ๎งฉางสูงที่สุดเทํากับ 63.19% ในขณะที่เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีเพียง 15% เทํานั้นที่เคยเข๎ารํวมโครงการ
จ าน ายุ๎งฉาง แตํเกษตรกรสํวนใหญํกวํา 80% รู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉางและทราบวํามีการด าเนินโครงการฯ นี้
(ตารางที่ 4.6) ซึ่งรายละเอียดของโครงการฯ การตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ และความพึงพอใจตํอการด าเนินงาน
จะวิเคราะห์และน าเสนอในบทที่ 5
ตารางที่ 4.6 ตัวแปรด๎านสังคมและการสื่อสารของเกษตรกรตัวอยําง จ าแนกตามสภาพแวดล๎อมการผลิตและการ
ตัดสินใจจัดเก็บข๎าว
สภาพแวดล้อมการผลิต การตัดสินใจจัดเก็บข้าว รวม
ปัจจัยด้านสังคมและการสื่อสาร นาน้ าฝน ชลประทาน ไม่เก็บ เก็บไว้
ทั่วไป อินทรีย์ ข้าวทั่วไป ไว้ขาย ขาย
(%)
เป็นสมาชิกสถาบันการเงิน 64.42 71.30 40.00 58.62 66.24 62.24
เป็นสมาชิกกลุํมเกษตรกร 59.51 82.41 40.00 59.77 67.52 63.44
เคยเข๎าโครงการจ าน ายุ๎งฉาง 63.19 55.56 15.00 29.89 76.43 51.96
รู๎จักโครงการจ าน ายุ๎งฉาง 90.18 88.89 78.33 81.03 94.90 87.61
เคยอบรมความรู๎เกี่ยวกับการปลูกข๎าว 55.21 70.37 36.67 55.17 58.60 56.80
ที่มา: จากการส ารวจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจจัดเก็บข้าวของเกษตรกร
ผลการประมาณคําแบบจ าลอง logistic regression เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บ
2
ข๎าวไว๎รอราคาของเกษตรกรแสดงดังตารางที่ 4.7 คํา Probability แสดงให๎เห็นวําตัวแปรอิสระในแบบจ าลอง
สามารถอธิบายตัวแปรตามหรือการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิได๎โดยมีอ านาจการอธิบายเทํากับ 44.91%
หมายถึง ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร ลักษณะทางกายภาพของฟาร์ม ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ และปัจจัย
ด๎านสังคมและการสื่อสารในแบบจ าลองสามารถอธิบายการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรได๎ 44.91% ผลการ
ประมาณคําสัมประสิทธิ์ตัวแปรพบวําสัดสํวนแรงงานเพศหญิงและรายได๎ของครัวเรือนมีอิทธิพลตํอการตัดสินใจ
จัดเก็บข๎าวหอมมะลิอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 90 และ 95% ตามล าดับ โดยครัวเรือนที่มีสัดสํวน
แรงงานเพศหญิงมากจะตัดสินใจจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคาขายมากกวําครัวเรือนที่มีสัดสํวนแรงงานเพศหญิงน๎อยกวํา ผล
36