Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       การวิเคราะห์คําสัมประสิทธิ์ของตัวแปรนี้สะท๎อนให๎เห็นถึงบทบาทของเพศหญิงในกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยว
                       ของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าว ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต๎องใช๎ความละเอียดและมีการปฏิบัติอยํางตํอเนื่องโดยไมํได๎ใช๎ก าลัง
                       แรงงานมากเทํากับกระบวนการไถเตรียมดิน การป้องกันก าจัดศัตรูพืชหรือกิจกรรมที่ต๎องท างานกับเครื่องจักรกล
                       การเกษตรขนาดใหญํ ซึ่งแรงงานที่ใช๎ในการไถเตรียมดิน การฉีดสารเคมี หรือแรงงานขับรถเกี่ยวนวดจะเป็นเพศชาย
                       มากกวํา ในขณะที่ตัวแปรรายได๎ของครัวเรือนมีเครื่องหมายหน๎าสัมประสิทธิ์เป็นลบ หมายถึงครัวเรือนที่มีรายได๎
                       มากกวํา มีความนําจะเป็นที่จะไมํเก็บข๎าวไว๎รอราคาแตํจะขายทันทีหลังเก็บเกี่ยว รายได๎ของครัวเรือนประกอบด๎วย
                       รายได๎จากภาคการเกษตรที่ไมํใชํข๎าว รายได๎นอกภาคการเกษตร และเงินชํวยเหลือจากรัฐบาล โดยสัดสํวนรายได๎
                       จากนอกภาคการเกษตรคิดเป็นประมาณ 80% ของรายได๎ครัวเรือนเกษตรกรในปัจจุบัน ดังนั้นครัวเรือนที่มีรายได๎
                       สูงขึ้นต๎องใช๎เวลาในกิจกรรมนอกภาคการเกษตรมากขึ้นด๎วยเชํนกัน จึงท าให๎ขาดแคลนแรงงานในการตากข๎าวหรือ
                       อาจไมํมีเวลาส าหรับกิจกรรมดังกลําว ในกลุํมเกษตรกรที่มีรายได๎สูงจึงเลือกที่จะขายข๎าวทันทีโดยไมํเก็บไว๎รอให๎
                       ราคาข๎าวให๎เพิ่มสูงขึ้น
                              ส าหรับปัจจัยด๎านกายภาพของฟาร์ม พบวําสภาพแวดล๎อมหรือรูปแบบการผลิตข๎าวมีความสัมพันธ์กับการ
                       ตัดสินใจจัดเก็บข๎าวอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ กลําวคือเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานที่ปลูกข๎าวทั่วไปตัดสินใจ
                       จัดเก็บข๎าวไว๎รอราคาน๎อยกวําเกษตรกรกลุํมอื่น ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไปในพื้นที่นาน้ าฝนมีความเป็นไปได๎
                       ที่จะเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ ซึ่งผลการศึกษาในประเด็นนี้ได๎รับการ
                       ยืนยันอีกครั้งในตารางที่ 4.8  คําความนําจะเป็นของการจัดเก็บข๎าวเพื่อรอขาย (Probability  of  Storage)  ของ
                       เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนมีคําสูงสุดและต่ าที่สุดในพื้นที่ชลประทาน เนื่องจากเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานสํวนหนึ่ง
                       จ าเป็นต๎องขายข๎าวเพื่อน าเงินมาลงทุนและใช๎แรงงานครัวเรือนส าหรับการเตรียมดินและการปลูกข๎าวในฤดูนาปรัง
                       จึงไมํมีแรงงานเหลือส าหรับกระบวนการตากข๎าวเพื่อเก็บในยุ๎งฉาง ในขณะที่เกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์ในพื้นที่นา
                       น้ าฝนมีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิไว๎เพื่อขายต่ ากวํากลุํมเกษตรกรที่ปลูกข๎าวทั่วไป เพราะ
                       สํวนใหญํเกษตรกรที่ปลูกข๎าวอินทรีย์จะรวมกลุํมผลิต ดังนั้นเกษตรกรที่เป็นสมาชิกจะขายผลผลิตข๎าวอินทรีย์ให๎กลุํม
                       ทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวหรือลดความชื้นเสร็จ หรือเกษตรกรหลายรายมีตลาดที่แนํนอนเพื่อรองรับผลผลิตข๎าวอินทรีย์
                       ของตน ซึ่งปัจจุบันความต๎องการข๎าวอินทรีย์ของผู๎บริโภคในตลาดเพิ่มสูงขึ้นเพราะกระแสรักสุขภาพ ท าให๎อุปสงค์ตํอ
                       ผลผลิตปลอดสารพิษ เชํนข๎าวอินทรีย์เพิ่มขึ้นด๎วยเชํนกัน เกษตรกรกลุํมนี้จึงเลือกขายผลผลิตทันทีมากกวําเก็บไว๎รอ
                       ราคา สํวนปัจจัยด๎านกายภาพอื่นๆ ได๎แกํ ภูมิภาค จ านวนผลผลิตข๎าวหอมมะลิ หรือการมียุ๎งฉาง มีความสัมพันธ์ใน
                       ทิศทางเดียวกันกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร โดยครัวเรือนในเขตภาคอีสานใต๎มีความนําจะเป็น
                       ที่จะเก็บข๎าวหอมมะลิไว๎รอขายมากกวําเกษตรกรในพื้นที่อื่นๆ และเกษตรกรรายใหญํที่มีผลผลิตข๎าวหอมมะลิ
                       ปริมาณมากมีแนวโน๎มจะเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําครัวเรือนที่ผลิตข๎าวหอมมะลิในปริมาณน๎อย ในขณะที่การมียุ๎ง
                       ฉางเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีสํวนส าคัญในการตัดสินใจของเกษตรกร การที่เกษตรกรมียุ๎งฉางสํงผลให๎เกษตรกรตัดสินใจ
                       จัดเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําเกษตรกรที่ไมํมียุ๎งฉาง สํวนปัจจัยอื่นๆ ทั้งพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิ ปริมาตรของ
                       สถานที่เก็บข๎าว วิธีการเก็บเกี่ยวและแรงงานที่ใช๎ในการตากข๎าว ไมํมีความสัมพันธ์อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติกับการ
                       ตัดสินใจเก็บจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร

























                                                                                                        37
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70