Page 69 -
P. 69

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                             บทที่ 5
                                        โครงการจ าน ายุ้งฉางต่อการตัดสินใจจัดเก็บข้าวหอมมะลิ


                       บทน า

                              โครงการสินเชื่อชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) เป็นนโยบายของรัฐบาลเพื่อดูดซับปริมาณ
                       ข๎าวเปลือกไมํให๎ออกสูํตลาดในปริมาณมากเกินความต๎องการ ชํวยรักษาเสถียรภาพและยกระดับราคาข๎าวเปลือก
                       ในชํวงที่ผลผลิตออกสูํตลาดเป็นจ านวนมาก โดยเพิ่มทางเลือกให๎กับเกษตรกรในการเก็บรักษาและปรับปรุงคุณภาพ
                       ข๎าวเปลือกเพื่อรอราคา (ประชาชาติ, 2561) โครงการนี้เริ่มด าเนินการในปี 2557 โดยมีรูปแบบการด าเนินการคล๎าย
                                                                                        7
                       กับโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ที่ ธ.ก.ส. เคยด าเนินการมาในอดีตกํอนที่จะมีนโยบายรับจ าน าข๎าว  แตํการด าเนินนโยบาย
                       ท าควบคูํกับนโยบายเสริมอื่น เชํน มาตรการเพิ่มรายได๎ให๎แกํผู๎มีรายได๎น๎อยที่จํายเงินให๎ชาวนากลุํมเป้าหมายราว 3.4
                       ล๎านครัวเรือน ในอัตราไรํละ 1,000 บาท โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข๎าวและสร๎างมูลคําเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
                       เป็นต๎น (Voice  TV,  2561)  การด าเนินโครงการสินเชื่อชะลอขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) ในปีแรกเริ่มจาก
                       ฤดูกาลการผลิต 2557/58 วงเงิน 25,740 ล๎านบาท เป็นสินเชื่อเพื่อชํวยเหลือเกษตรกรในชํวงที่ผลผลิตออกมา
                       ปริมาณมากและมีราคาตกต่ า เพื่อให๎เกษตรกรมีทางเลือกในการชะลอการขาย โดยไมํต๎องกังวลกับปัญหาเงินที่จะ
                       น ามาใช๎จํายในครัวเรือนและภาระหนี้สิน สามารถน าผลผลิต คือ ข๎าวเปลือกหอมมะลิและข๎าวเปลือกเหนียวมาขอกู๎
                       กับ ธ.ก.ส.. อัตรา 90% ของราคาตลาด จากเดิมอัตรา 80% ตามมติของคณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการ
                       ข๎าว (นบข.) วงเงินไมํเกินรายละ 300,000 บาท โดยไมํเสียดอกเบี้ย และเพิ่มให๎อีกตันละ 1,000 บาท ให๎กับชาวนาที่
                       เก็บข๎าวไว๎ในยุ๎งฉางเกิน 30 วัน เพื่อเป็นแรงจูงใจให๎ชะลอการขายข๎าวในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวไมํให๎เข๎าสูํตลาด เพื่อพยุง
                       ราคาไมํให๎ตกต่ า (มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน, 2557) และเกษตรกรต๎องช าระคืนเงินกู๎ภายใน 4 เดือนนับจากเดือนที่รับ
                       เงินกู๎  เป้าหมายการรับจ าน ายุ๎งฉางในปีดังกลําว คือ 1.5  ล๎านตัน กรอบงบประมาณ 17,280  ล๎านบาท ซึ่งผลการ
                       ด าเนินงาน พบวํา มีการจํายสินเชื่อแกํเกษตรกร 79,438  ราย ปริมาณข๎าว 474,932.52  ตัน เป็นจ านวนเงิน
                       6,731.58 ล๎านบาท (ประชาชาติ, 2561) หรือคิดเป็น 3.28% ของผลผลิตข๎าวหอมมะลิและข๎าวเหนียวในปีการผลิต
                              8
                       2557/58  ในปีการผลิตตํอมามีการปรับปรุงหลักเกณฑ์การด าเนินงานของโครงการเล็กน๎อย (ตารางที่ 5.1) และ
                       โครงการดังกลําวด าเนินการมาอยํางตํอเนื่องจนกระทั่งในปีปัจจุบัน แม๎วําจะเพิ่มแรงจูงใจในการเข๎ารํวมโครงการฯ
                       โดยในปีการผลิต 2560/61 เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจะได๎รับคําเก็บรักษาข๎าวเปลือกในยุ๎งฉางอีก 1,500 บาทตํอ
                       ตัน (กรมการค๎าภายใน, 2560) แตํจ านวนเกษตกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ยังไมํได๎ตามเป้าหมาย (ผลผลิตเป้าหมาย
                       เทํากับ 2 ล๎านตัน) และยังมีสัดสํวนที่น๎อยเมื่อเทียบกับผลผลิตข๎าวที่ออกสูํตลาด (ตารางที่ 5.1)
                              การที่มีปริมาณข๎าวเข๎าสูํโครงการฯ ในปริมาณน๎อยท าให๎ไมํสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการฯใน
                       การที่จะดึงอุปทานข๎าวออกจากตลาดในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวที่ราคาต่ า เพราะอุปทานข๎าวที่ลดลงไมํมากพอที่จะสํงผล
                       กระทบตํอการเปลี่ยนแปลงราคา (Paopongsakorn,  2011) ดังนั้นการเพิ่มปริมาณข๎าวที่เข๎ารํวมโครงการฯ ให๎ได๎
                       ตามเป้าหมายจึงเป็นแนวทางที่จ าเป็นเพื่อลดอุปทานข๎าวเปลือกและสร๎างเสถียรภาพราคาข๎าวหอมมะลิในชํวงฤดู
                       เก็บเกี่ยวตามเป้าหมายที่ก าหนด ดังนั้นในบทนี้จะน าเสนอข๎อมูลของเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาจ าแนกตามกลุํมที่เข๎า
                       โครงการจ าน ายุ๎งฉางและกลุํมที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลตํอการตัดสินใจเข๎ารํวม





                       7
                        มาตรการรับจ าน าข๎าวเปลือกในชํวงปี 2544-52 เป็นนโยบาย ที่มีลักษณะคล๎ายการประกันราคาข๎าวซึ่งรัฐบาลก าหนดราคาเป้าหมาย
                       ให๎สูงกวําราคาตลาดและเพิ่มเป้าหมายการรับจ าน า และใช๎โรงสี/โกดังเอกชนเข๎ามาเป็นกลไกส าคัญในกระบวนการรับจ าน า รัฐบาลยุติ
                       การด าเนินโครงการรับจ าน าข๎าวสารและเปิดให๎ด าเนินการรับจ าน าข๎าวเปลือกนาปรังเป็นครั้งแรก ก าหนดเป้าหมายการรับจ าน าไว๎ 2.5
                       ล๎านตันเริ่มรับจ าน าข๎าวนาปรัง รูปแบบปรับเป็นการรับจ าน าใบประทวนสินค๎าโดยมีโรงสีที่เข๎ารํวมโครงการฯ ท าหน๎าที่รับฝาก
                       ข๎าวเปลือก ก าหนดเงื่อนไขให๎สามารถน าข๎าวเปลือกที่รับฝากไว๎ไปสีแปรสภาพเป็นข๎าวสารและน าสํงโกดังกลางที่เข๎ารํวมโครงการกับ ธ.
                       ก.ส. และ  องค์การคลังสินค๎า (อคส.) ซึ่งการรับจ าน าด๎วยราคาเป้าหมายที่สูงกวําราคาตลาด ให๎วงเงินกู๎เป็น 100% ของราคาเป้าหมาย
                       และเพิ่มเป้าหมายการรับจ าน าเป็น 8.7 ล๎านตัน เป็นผลให๎ปริมาณข๎าวเปลือกเข๎าสูํโครงการรับจ าน ามากถึง 4.3 ล๎านตัน ในปีการผลิต
                       2554/55 และ 9 ล๎านตัน ในปี 2545/46 (สมพร, 2555)
                       8  ปีการผลิต 2557/58 ผลผลิตข๎าวหอมมะลิ (ขาวดอกมะลิ 105 และ กข15) เทํากับ 8,728,478 ตัน และข๎าวเหนียว 5,774,849 ตัน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74