Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
9
ในขณะที่ต๎นทุนสํวนเพิ่มจากการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ คือต๎นทุนคําตากข๎าว เป็นปัจจัยด๎านเศรษฐกิจอีก
ตัวแปรหนึ่งที่นําจะสํงผลตํอการตัดสินใจของเกษตรกร เกษตรกรที่มีต๎นทุนสํวนเพิ่มสูงกวํานําจะตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ
มากกวําเพราะเป็นกลุํมที่ตากข๎าวเก็บไว๎ไมํได๎ขายข๎าวสดทันทีหลังจากเก็บเกี่ยว จากการส ารวจพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวม
โครงการฯ มีต๎นทุนสํวนเพิ่มในการตากข๎าว 2,953 บาท สูงกวําเกษตรกรกลุํมที่ไมํจ าน ายุ๎งฉางมากกวํา 2 เทํา (ตารางที่ 5.4)
ส าหรับปัจจัยด๎านกายภาพของฟาร์มจะพิจารณาจากการมียุ๎งฉางและจ านวนแรงงานในครัวเรือน จากการส ารวจ
พบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มีสัดสํวนของจ านวนเกษตรกรที่มียุ๎งฉางมากกวําเกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯ ซึ่ง
เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯสํวนใหญํ 96.47% มียุ๎งฉางเป็นของตนเอง โดยเกษตรกรรายใหญํ ทุกครัวเรือนที่เข๎ารํวม
โครงการฯ มียุ๎งฉางเป็นของตนเอง (ตารางที่ 5.4) ในขณะที่ฟาร์มขนาดเล็กและขนาดกลางมีบางสํวนไมํมียุ๎งฉางแตํยืมยุ๎งฉาง
ของญาติพี่น๎องหรือพํอแมํที่มียุ๎งฉางมากกวําหนึ่งหลัง เพื่อเก็บผลผลิตข๎าวในโครงการฯ ซึ่งข๎อก าหนดของโครงการจ าน ายุ๎ง
ฉางคือเกษตรกรต๎องมียุ๎งฉางที่มั่นคงแข็งแรงและสามารถจัดเก็บข๎าวได๎ตามปริมาณและระยะเวลาที่ ธ.ก.ส. ก าหนด
ในสํวนของจ านวนแรงงานในครัวเรือน ดังที่กลําวมาแล๎วในบทที่ 4 วําการจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรใน
ปัจจุบันจ าเป็นต๎องใช๎แรงงานในกิจกรรมการตากข๎าว เนื่องจากข๎าวที่เก็บเกี่ยวโดยใช๎รถเกี่ยวข๎าวเป็นข๎าวสดมี
ความชื้นสูง เกษตรกรจ าเป็นต๎องลดความชื้นโดยการตากข๎าวกํอนที่จะจัดเก็บ เกษตรกรที่จะน าข๎าวเข๎ารํวมโครงการ
จ าน ายุ๎งฉางจึงจ าเป็นต๎องมีแรงงานในครัวเรือนส าหรับการตากข๎าวเพราะเกษตรกรสํวนใหญํใช๎แรงงานครัวเรือนใน
กิจกรรมนี้และการจ๎างแรงงานจะท าได๎ยากเนื่องจากเป็นชํวงฤดูเก็บเกี่ยวที่ขาดแคลนแรงงานและคําจ๎างแรงงานสูง
ดังนั้นครัวเรือนที่มีจ านวนแรงงานคนมากกวํานําจะมีความนําจะเป็นที่จะเข๎ารํวมโครงการฯ มากกวําเนื่องจากมี
แรงงานที่เพียงพอส าหรับกิจกรรมการตากข๎าว จากการส ารวจพบวําเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ มีแรงงานเฉลี่ย
3.17 คนตํอครัวเรือน สูงกวําเกษตรกรที่ไมํเข๎ารํวมโครงการฯ ที่มีแรงงานเฉลี่ย 2.61 คนตํอครัวเรือน โดยเฉพาะ
เกษตรกรรายใหญํที่เข๎ารํวมโครงการฯมีแรงงานเฉลี่ย 3.45 คนตํอครัวเรือนสูงกวําเกษตรกรกลุํมที่ไมํเข๎าโครงการฯ
ที่มีแรงงานเฉลี่ย 2.97 คนตํอครัวเรือนเทํานั้น ฟาร์มขนาดใหญํมีแรงงานเฉลี่ยสูงกวําฟาร์มขนาดเล็ก (ตารางที่ 5.4)
ตารางที่ 5.4 ลักษณะทางเศรษฐกิจและกายภาพของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าวหอมมะลิที่เข๎ารํวมโครงการชะลอการขาย
ข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) จ าแนกตามขนาดพื้นที่เพาะปลูก ปีการผลิต 2560/61
รายการ/ขนาดพื้นที่ เล็ก กลาง ใหญ่ รวมเฉลี่ย
ไม่จ าน า จ าน า ไม่จ าน า จ าน า ไม่จ าน า จ าน า ไม่จ าน า จ าน า
บาท/ครัวเรือน/ปี
รวมรายได๎ครัวเรือน 156,218 371,575 170,587 200,303 355,389 437,018 191,323 321,298
รายได๎จากข๎าว 17,561 37,775 34,926 54,454 69,097 114,241 32,303 83,603
รายได๎จากภาคเกษตร 23,438 12,500 32,915 20,981 71,926 44,098 34,463 32,204
รายได๎จากนอกภาคเกษตร 100,417 318,000 87,988 109,568 196,531 262,538 109,329 190,058
รายได๎จากเงินชํวยเหลือของรัฐ 14,802 3,300 14,757 15,300 17,836 16,140 15,227 15,433
ปริมาณหนี้สิน 139,982 300,000 155,128 197,805 206,667 327,619 156,020 264,353
ต๎นทุนคําตากข๎าว 776 500 1,210 2,203 2,023 3,803 1,139 2,953
การมียุ๎งฉาง (ร๎อยละ) 75.00 50.00 77.45 95.12 77.78 100.00 76.42 96.47
จ านวนแรงงาน (คน/ครัวเรือน) 2.5 2.5 2.61 2.9 2.97 3.45 2.61 3.17
ที่มา: จากการส ารวจ
9 รวมต๎นทุนคําแรงงานในการตากทั้งแรงงานตนเองและแรงงานจ๎าง คําขนสํง คําวัสดุอุปกรณ์ที่ใช๎ ไมํรวมต๎นทุนประเมินคําเชํายุ๎งฉาง
เนื่องจากเกษตรกรจะจัดเก็บข๎าวตามประเภทของยุ๎งฉางหรือสถานที่จักเก็บที่มีอยูํ เชํน ยุ๎งสังกะสี ยุ๎งไม๎ หรือการจัดเก็บในบ๎าน การ
วิเคราะห์ในสํวนนี้ต๎องการประเมินต๎นทุนการตากและการจัดเก็บข๎าวในรูปแบบต๎นทุนผันแปร เพื่อให๎สามารถเปรียบเทียบระหวํางกลุํม
ได๎ชัดเจนกวําการรวมคําเชํายุ๎งมาแสดง
44