Page 77 -
P. 77
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตัวแปรด๎านกายภาพของฟาร์ม ได๎แกํ การมียุ๎งฉาง ภาคอีสานใต๎ จ านวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพื้นที่
เพาะปลูก และรูปแบบการผลิต มีอิทธิพลในทิศทางเดียวกันตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกรอยํางมี
นัยส าคัญทางสถิติ โดยจ านวนแรงงานครัวเรือนมีบทบาทตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯ เนื่องจากเกษตรกรที่เข๎า
รํวมโครงการฯ ต๎องตากข๎าวกํอนจัดเก็บในยุ๎งฉาง และเกษตรกรที่มียุ๎งฉางของตนเองมีความนําจะเป็นในการเข๎ารํวม
โครงการฯมากกวํา เนื่องจากการมียุ๎งฉางเป็นข๎อก าหนดที่ส าคัญของโครงการฯ นอกจากนั้นเกษตรกรในเขตอีสานใต๎
มีความเป็นไปได๎ของการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯมากกวําเกษตรกรในพื้นที่อื่นๆ ส าหรับปัจจัยด๎านสังคมและการ
สื่อสารพบวํา แม๎วําเกษตรกรสํวนใหญํรู๎จักและทราบวํามีการด าเนินโครงการฯ นี้ แตํการรู๎จักโครงการฯ การเข๎ารับ
การอบรมความรู๎เกี่ยวกับข๎าว การเป็นสมาชิก ธ.ก.ส. ก็ไมํมีความสัมพันธ์ตํอการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯอยํางมี
นัยส าคัญทางสถิติเชํนกัน ซึ่งเกษตกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ในปีการผลิต 2560/61 สํวนใหญํจะเข๎ารํวมโครงการฯ ตํอ
ในปีถัดไป เพราะพึงพอใจตํอราคาข๎าวหอมมะลิและคําเก็บรักษาข๎าวเปลือกที่ได๎รับจากโครงการฯ นอกจากนี้ราคา
ข๎าวหอมมะลิที่เพิ่มสูงขึ้นมากหลังจากฤดูเก็บเกี่ยวในปีนี้ยังจูงใจให๎เกษตรกรที่ไมํได๎เข๎ารํวมโครงการฯในปีนี้ประมาณ
14.23% สนใจที่จะเข๎ารํวมโครงการฯ ในปีถัดไปเพราะท าให๎เกษตรกรได๎รับก าไรสํวนเพิ่มจากการน าผลผลิตข๎าวเข๎า
รํวมโครงการฯ มากขึ้น อยํางไรก็ตามการจะเข๎ารํวมโครงการชํวยเหลือของรัฐหรือไมํ นําจะมีปัจจัยอื่น ที่ส าคัญกวํา
คือ ราคาที่คาดวําจะได๎รับมากพอ การด าเนินนโยบายของรัฐเชื่อถือได๎ มีความมั่นใจ และความเสี่ยงต่ า ซึ่งปัจจัย
ดังกลําวไมํได๎รวมในตัวแปรที่ใช๎วิเคราะห์ ดังนั้นในการศึกษาครั้งตํอไปควรจะรวมตัวแปรเหลํานี้ในแบบจ าลองเพื่อให๎
การประมาณคําได๎ผลที่ครอบคลุมมากขึ้น
49