Page 48 -
P. 48
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 3.2 การกระจายของกลุํมตัวอยํางตามจังหวัด สภาพแวดล๎อมการผลิต และรูปแบบการผลิตข๎าว
จังหวัด พื้นที่ชลประทาน พื้นที่นาน้ าฝน รวม
ข๎าวหอมมะลิทั่วไป 1/ ข๎าวหอมมะลิทั่วไป ข๎าวหอมมะลิอินทรีย์
(ครัวเรือน)
นครพนม 20 13 17 50
บ.นาโพธิ์ ต.บ๎านผึ้ง อ.เมือง บ.หนองสโน-หนองบัวโค๎ง ต.ดอนนางหงส์ อ.เมือง
ยโสธร - 13 17 30
- บ.กุดเสถียร ต.สร๎างมิ่ง อ.เลิงนกทา
มหาสารคาม - 21 9 30
- บ.ปลาบูํ ต.หนองแสง อ.วาปีปทุม
ร๎อยเอ็ด 20 17 13 50
บ.ผัดกาดหญ๎า ต.นาเลิง อ.เสลภูมิ บ.ผือฮี ต.ดงแดง อ.จตุรพักตรพิมาน
นครราชสีมา - 22 8 30
- บ.เตย ต.กระเบื้องใหญํ อ.พิมาย
อุบลราชธานี 20 26 4 50
บ.อํางหินน๎อย ต.บ๎านแขม อ.พิบูลมังสาหาร บ.บัวงาม ต.บัวงาม อ.เดชอุดม
ศรีสะเกษ - 22 8 30
- บ.อาวอย ต.โสน อ.ขุขันธ์
สุรินทร์ - 14 16 30
- บ.โดนเลงใต๎ ต.ทมอ อ.ปราสาท
บุรีรัมย์ - 15 15 30
- บ.สระแรํ ต.หนองกระทิง อ.ล าปลายมาศ
รวม 60 163 107 330
1/
หมายเหตุ: การผลิตข๎าวอินทรีย์ในพื้นที่ชลประทานคํอนข๎างปฏิบัติได๎ยาก เนื่องจากในชํวงที่เกษตรกรปลูกข๎าวนาปรัง จ าเป็นต๎องใช๎
ข๎าวพันธุ์ที่ไมํไวตํอชํวงแสงซึ่งตอบสนองตํอการใช๎ปุ๋ยเคมี เกษตรกรสํวนใหญํในพื้นที่ชลประทานยังคงต๎องใช๎ปุ๋ยเคมีและ
สารเคมีในการป้องกัน/ก าจัด โรคแมลงศัตรูพืช ดังนั้นในการก าหนดกลุํมตัวอยํางในพื้นที่ชลประทานจะเลือกเฉพาะ
เกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไป
4. การเลือกเกษตรกรตัวอย่างในแต่ละหมู่บ้าน จะมีขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้
- จัดท าฐานข๎อมูลรายชื่อของเกษตรในแตํละหมูํบ๎าน โดยการจัดท ารายชื่อประชากร (Listing) ใน
หมูํบ๎านที่เป็นพื้นที่ศึกษาเพื่อประเมินจ านวนเกษตรกรที่มียุ๎งฉางและไมํมียุ๎งฉางในหมูํบ๎าน และวัตถุประสงค์การเก็บ
ข๎าว เพื่อจัดท ากรอบของการสุํมตัวอยําง (Sampling frame) ซึ่งจากข๎อมูลใน listing fram ที่ด าเนินการส ารวจ
ประชากรในพื้นที่ศึกษา 12 หมูํบ๎าน รวมจ านวนประชากร 1,482 ราย เป็นเกษตรกรที่ปลูกข๎าว 1,109 ครัวเรือน
หรือคิดเป็น 74.8% ของประชากรทั้งหมด โดยประชากรตัวอยํางปลูกข๎าวหอมมะลิ 1,001 ครัวเรือน หรือคิดเป็น
90.3% ของประชากรที่ปลูกข๎าวทั้งหมด และเป็นประชากรที่มียุ๎งฉาง 734 ครัวเรือน หรือ 66.2% ของประชากรผู๎
ปลูกข๎าวหอมมะลิ ซึ่งสํวนใหญํ 59.1% ของประชากรตัวอยํางเก็บไว๎บริโภคในครัวเรือนและเป็นเมล็ดพันธุ์ ในขณะที่
ประชากรอีก 28.2% และ 12.6% เก็บไว๎บางสํวนเพื่อรอราคาขายและเข๎าโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส.
ตามล าดับ (ตารางที่ 3.3)
- การสุํมตัวอยํางเกษตรกรแตํละหมูํบ๎านจะสุํมตามรายชื่อประชากรได๎จากการ listing ตาม sampling
frame ที่มี โดยใช๎การสุํมตัวอยํางแบบเจาะจง และมีเงื่อนไขในการสุํมตัวอยําง ดังนี้
1) เกษตรกรตัวอยํางในแตํละพื้นที่ต๎องประกอบด๎วยเกษตรกรที่มีวัตถุประสงค์การจัดเก็บข๎าวทั้ง 3
แบบ คือ 1) เก็บไว๎บริโภคหรือใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์เทํานั้น 2) เก็บไว๎ขาย และ 3) เก็บไว๎รอขายโดยเข๎ารํวมโครงการ
จ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. โดยสุํมตัวอยํางเกษตรกรจะสุํมตัวอยํางเกษตรกรเป้าหมายคือกลุํมที่เข๎าโครงการจ าน ายุ๎งฉาง
กํอน หลังจากนั้นจัดเก็บตัวอยํางเกษตรกรกลุํมที่เก็บไว๎เพื่อขาย (กลุํมที่ 2) และเก็บไว๎เพื่อบริโภคหรือเป็นเมล็ดพันธุ์
เทํานั้น (กลุํมที่ 1) จากรายชื่อเกษตรกรในกรอบประชากรที่จัดท าขึ้น
20