Page 47 -
P. 47

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ตารางที่ 3.1  พื้นที่เพาะปลูกและสัดสํวนพื้นที่เพาะปลูกข๎าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการเพาะปลูก 2558/59
                       เขตพื้นที่   จังหวัด/  พื้นที่ปลูกข๎าว พื้นที่ข๎าวหอม  พื้นที่   สัดสํวนพื้นที่ข๎าวหอม สัดสํวนพื้นที่ข๎าว
                                  รายการ       1/         มะลิ 1/   ข๎าวกข6 1/    มะลิ 2/       เหนียว 2/
                                               ไรํ         ไรํ        ไรํ          %              %
                       ทั้งประเทศ           58,063,476    24,936,593  14,415,444   43             25
                       ตะวันออกเฉียงเหนือ   36,193,410    21,079,623  12,526,151   58             35
                       อีสานเหนือ  เลย         337,235        7,724  178,032       2              53
                       อีสานเหนือ  หนองบัวล าภู   700,367   132,267  508,272       19             73
                       อีสานเหนือ  อุดรธานี   1,682,081     296,039  1,264,225     18             75
                       อีสานเหนือ  หนองคาย     465,700      113,471  294,808       24             63
                       อีสานเหนือ  บึงกาฬ      489,607       90,138  384,264       18             78
                       อีสานเหนือ  สกลนคร    2,002,200      441,357  1,382,160     22             69
                       อีสานเหนือ  นครพนม    1,305,630      494,976  571,013       38             44
                       อีสานกลาง  มุกดาหาร     486,506       99,199  328,297       20             67
                       อีสานกลาง  ยโสธร      1,298,953      668,564  575,245       51             44
                       อีสานกลาง  มหาสารคาม   2,096,233    1,010,392  973,109      48             46
                       อีสานกลาง  ร๎อยเอ็ด   3,035,782     2,841,382  786,090      94             26
                       อีสานกลาง  กาฬสินธุ์   1,439,326     337,410  1,045,156     23             73
                       อีสานกลาง  ขอนแกํน    2,317,220      551,385  1,636,788     24             71
                       อีสานกลาง  ชัยภูมิ    1,555,792      746,541  610,047       48             39
                       อีสานใต๎  นครราชสีมา   3,470,994    2,683,906  166,746      77             5
                       อีสานใต๎  อุบลราชธานี   3,800,719   2,460,946  1,141,839    65             30
                       อีสานใต๎  ศรีสะเกษ    2,956,173     2,702,710  157,279      91             5
                       อีสานใต๎  สุรินทร์    3,082,731     3,041,537   7,607       99             0
                       อีสานใต๎  บุรีรัมย์   2,724,040     2,441,914  123,902      90             5
                       อีสานใต๎  อ านาจเจริญ   946,121      527,300  391,272       56             41
                       หมายเหตุ: จังหวัดที่พิมพ์ด๎วยตัวอักษรขีดเส๎นใต๎ เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากที่สุดในแตํละเขต และเป็นจังหวัดที่ถูก
                              เลือกเป็นพื้นที่ศึกษา
                                                                     2/
                           1/
                       ที่มา:  ข๎อมูลการผลิตสินค๎าเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2559)  ค านวณจากฐานข๎อมูลการผลิตสินค๎าเกษตร ส านักงาน
                           เศรษฐกิจการเกษตร (2559)

                              2. การเลือกอ าเภอ ส าหรับพื้นที่นาน้ าฝนต๎องเป็นอ าเภอมีรูปแบบการผลิตที่แตกตํางกัน 2 แบบคือ การ
                       ผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และการผลิตข๎าวหอมมะลิทั่วไปโดยข๎อมูลพื้นฐานในการเลือกอ าเภอมาจากรายงานข๎อมูล
                       พื้นที่เพาะปลูกข๎าวนาปีและนาปรังรายอ าเภอ ของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร รํวมกับข๎อมูลกลุํมเกษตรกรที่ปลูก
                       ข๎าวอินทรีย์ของส านักงานเกษตรจังหวัดแตํละจังหวัด สํวนอ าเภอที่เป็นตัวแทนพื้นที่ชลประทานจะเลือกจากอ าเภอที่
                       มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวนาปรังมากที่สุดในแตํละจังหวัดตัวแทนทั้ง 3 จังหวัด
                              3. การเลือกต าบลและหมู่บ้าน ใช๎หลักเกณฑ์เดียวกับการเลือกอ าเภอ คือส าหรับพื้นที่นาน้ าฝนต๎องมี
                       รูปแบบการผลิตที่แตกตํางกัน 2 แบบคือ การผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และการผลิตข๎าวหอมมะลิทั่วไป โดยใช๎ข๎อมูล
                       จากส านักงานเกษตรอ าเภอแตํละอ าเภอ ในระดับหมูํบ๎านต๎องเป็นเกษตรกรที่อยูํหมูํบ๎านเดียวกันหรือหมูํบ๎านที่มี
                       อาณาเขตติดตํอกัน โดยก าหนดจ านวนตัวอยํางตามวิธีการเพาะปลูกแตํละวิธีเทํากัน รวมจ านวนตัวอยําง 30
                       ครัวเรือนตํอจังหวัด ส าหรับเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานจะเลือกหมูํบ๎านที่มีพื้นที่ปลูกข๎าวในเขตชลประทานใน
                       สัดสํวนที่มากที่สุด ตามค าแนะน าของเจ๎าหน๎าที่จากส านักงานเกษตรอ าเภอแตํละอ าเภอ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3.2









                                                                                                        19
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52