Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 1
บทน า
ที่มาและความส าคัญของการวิจัย
หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตเกษตรกรมี 2 ทางเลือก คือ ขายข๎าวทันทีหรือเก็บไว๎เพื่อรอราคา ซึ่งเกษตรกรจะ
เก็บข๎าวไว๎ก็ตํอเมื่อคาดการณ์วํารายได๎สํวนเพิ่มที่ได๎รับจะสูงกวําต๎นทุนสํวนเพิ่ม (marginal cost) ของการจัดเก็บ
ข๎าว (Tomek and Robinson, 1981) เนื่องจากในประเทศไทยอุปสงค์ตํอข๎าวมีตลอดทั้งปี ท าให๎ราคาข๎าวเพิ่มสูงขึ้น
1
เมื่อผํานชํวงฤดูเก็บเกี่ยว และสํวนใหญํข๎าวจะมีราคาสูงที่สุดประมาณชํวงเดือนเมษายน-กรกฎาคมของทุกปี ซึ่ง
หากเกษตรกรเก็บข๎าวไว๎จะได๎รับรายได๎สูงกวําต๎นฤดูและนําจะได๎รับก าไรสูงสุด อยํางไรก็ตามส าหรับเกษตรกรผู๎ปลูก
ข๎าวสํวนใหญํจะเลือกขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวคือการขายข๎าวสดมากกวําการเก็บไว๎เพื่อรอราคา สาเหตุสํวนหนึ่ง
มาจากปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตร สํงผลให๎เกษตรกรยอมรับเครื่องจักรมาใช๎ทดแทนแรงงานคนใน
กระบวนการปลูกข๎าว โดยเฉพาะกระบวนการเก็บเกี่ยวที่ใช๎รถเกี่ยวนวดแทนการเกี่ยวมือ ซึ่งผลผลิตที่ได๎จะเป็นข๎าว
สดความชื้นประมาณ 20-27% (อรวรรณ และคณะ, 2557) เกษตรกรจ าเป็นต๎องลดความชื้นข๎าวโดยการตากข๎าว
กํอนหากต๎องการเก็บข๎าวไว๎เพื่อรอราคาขาย ดังนั้นหากเกษตรกรขาดแคลนแรงงานหรือสถานที่ในการตากข๎าว
เกษตรกรจ าเป็นต๎องขายข๎าวทันที อีกสํวนหนึ่งเกิดจากวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต
ชาวนาไมํได๎มีอาชีพหลักคือการท านาแตํหันไปท างานนอกภาคเกษตรเพื่อเพิ่มรายได๎ให๎กับครอบครัวซึ่งเป็นปัจจัย
ผลักที่ส าคัญท าให๎เกษตรกรต๎องใช๎เวลาในกระบวนการผลิตข๎าวให๎น๎อยที่สุด หรือเกษตรกรบางสํวนอาจจะมีปัญหา
เรื่องขาดแคลนสถานที่เก็บส าหรับเก็บข๎าว
นอกจากนี้การยอมรับเทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหมํที่ชํวยเพิ่มผลผลิตข๎าวของเกษตรกรนั้นเป็นที่มา
ของการเพิ่มขึ้นของต๎นทุนที่เป็นเงินสดส าหรับปลูกข๎าว เกษตรกรสํวนใหญํต๎องกู๎ยืมเงินหรือปัจจัยการผลิตเพื่อใช๎ใน
การผลิตข๎าวแตํละฤดูกาล ประกอบกับการมีหนี้สินที่มาจากวัตถุประสงค์อื่นนอกภาคการเกษตรอาจจะเป็นปัจจัย
ผลักที่ส าคัญในการตัดสินใจขายข๎าวทันทีหลังจากเก็บเกี่ยวเพื่อน าเงินมาช าระหนี้สินดังกลําว ดังนั้นแรงจูงใจด๎าน
ราคาหรือต๎นทุนสํวนเพิ่มในการจัดเก็บอาจไมํใชํปัจจัยหลักในการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวไว๎รอราคาจ าหนํายดังเชํนใน
อดีต แตํประกอบด๎วยปัจจัยส าคัญ 3 ด๎าน ได๎แกํ ปัจจัยด๎านกายภาพของฟาร์มและเกษตรกร ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจ
และปัจจัยด๎านสังคม (Nwet et al., 2017) ซึ่งนําจะสํงผลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกร ดังนั้นแม๎วํา
รัฐบาลจะใช๎นโยบายชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) เพื่อจูงใจให๎เกษตรกรจัดเก็บข๎าวไว๎ขายหลังชํวงฤดู
เก็บเกี่ยวเพื่อชะลออุปทานข๎าวในชํวงดังกลําว แตํเกษตรกรสํวนใหญํไมํสนใจเข๎ารํวมโครงการมากนัก เห็นได๎จาก
จ านวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางที่มีประมาณสองแสนรายหรือประมาณ 5.48% ของเกษตรกรผู๎ปลูก
2
ข๎าวทั้งประเทศ
ส าหรับข๎าวหอมมะลิไทยถือเป็นสินค๎าที่มีมาตรฐานสูงในด๎านคุณภาพ แม๎จะมีราคาสูงกวําข๎าวหอมของ
ประเทศคูํแขํงแตํก็เป็นที่นิยมของผู๎บริโภคในตํางประเทศ เชํน จีน สหรัฐอเมริกา ฮํองกง แคนาดา ออสเตรีย ญี่ปุ่น
และอีกหลายประเทศ ทั้งในเอเชียและยุโรป (วราทัศน์, 2555; สมาคมผู๎สํงออกข๎าวไทย, 2560) ซึ่งคุณลักษณะ
ส าคัญคือเมล็ดยาวเรียว เมื่อหุงสุกจะมีกลิ่นหอมและนุํม จึงเป็นที่ต๎องการของผู๎บริโภคทั้งในประเทศและตํางประเทศ
ดังนั้นเกษตรกรจะขายข๎าวหอมมะลิได๎ในราคาสูงกวําข๎าวชนิดอื่นเพราะตลาดให๎คําความจ าเพาะของคุณสมบัติพิเศษ
3
ดังกลําว (สมพร, 2559) โดยประเทศไทยสํงออกข๎าวหอมมะลิในปี 2559 ประมาณ 2,364,732 ตัน น ารายได๎เข๎าสูํ
ประเทศปีละกวําหกหมื่นล๎านบาท (สมาคมผู๎สํงออกข๎าวไทย, 2560) ดังนั้นแม๎วําเกษตรกรในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของไทยสํวนใหญํจะบริโภคข๎าวเหนียวเป็นหลักและแบํงพื้นที่ไว๎ปลูกข๎าวเหนียวเพื่อบริโภคใน
1 อ๎างอิงจากข๎อมูลราคารายดือนของข๎าวเปลือกหอมมะลิชั้น 1 ปี 2540-2560 ของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2 ข๎อมูลจ านวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการชะลอการขายข๎าว จากรายงานผลการด าเนินงานโครงการสินเชื่อชะลอการขายข๎าวเปลือกนา
ปี 2560/61 ข๎อมูล ณ เดือนมีนาคม 2561 (ธ.ก.ส., 2561); ข๎อมูลจ านวนเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าว จากส านักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร
3 ปริมาณการสํงออกต๎นข๎าว 1,560,585 ตัน และปลายข๎าว 804,147 ตัน รวม 2,364,732 ตัน