Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




            ม�เปรียบเทียบจะช่วยให้เห็นคว�มแตกต่�ง เช่น ก�รผลิตต่อหน่วยสิ่งเข้� (ปัจจัยก�รผลิต) ก็มีหล�ยมิติ
            เนื่องจ�กสิ่งเข้�มีหล�ยรูป เช่น พื้นที่ แรงง�น พลังง�น เงินทุน ซึ่งทำ�ให้ผลิตภ�พของระบบนิเวศเกษตร

            ต่�งกัน เมื่อพิจ�รณ�จ�กสิ่งเข้�หรือปัจจัยก�รผลิตแต่ละประเภท
                     โดยทั่วไปประสิทธิภ�พก�รผลิตจะสูงเมื่อคิดจ�กสิ่งเข้�ซึ่งเป็นปัจจัยที่จำ�กัดระดับผลผลิต  และ

            จะมีประสิทธิภ�พตำ่�เมื่อคิดจ�กสิ่งเข้�ที่มีม�กเกินพอ เช่น ในเขตที่ประช�กรหน�แน่น พื้นที่ถือครองต่อ
            ครอบครัวน้อยและใช้แรงง�นแบบประณีตหรือทำ�อย่�งถี่ถ้วน  ได้แก่ก�รปลูกข้�วผลผลิตสูง  ผลิตภ�พต่อ
            หน่วยพื้นที่จะสูง  แต่ผลิตภ�พต่อหน่วยแรงง�นจะตำ่�  ในทำ�นองเดียวกันก�รเกษตรที่ใช้เงินลงทุนเพื่อซื้อ

            ปัจจัยก�รผลิต (เช่น ปุ๋ยและส�รฆ่�ศัตรูพืช) ม�ก ผลิตภ�พต่อหน่วยพื้นที่จะสูงกว่� แต่ผลตอบแทนต่อ
            หน่วยเงินลงทุนจะตำ่�กว่� เมื่อเปรียบเทียบกับระบบก�รเกษตรแบบดั้งเดิมซึ่งลงทุนน้อย

                     นอกจ�กนี้เมื่อมีก�รใช้สิ่งเข้�ที่ลักษณะเฉพ�ะเจ�ะจงในระบบนิเวศเกษตร  ก็ควรแสดงผลที่คิด
            ประสิทธิภ�พของสิ่งเข้� เช่น
                     1) ในเขตชลประท�น ควรบอกผลผลิตต่อหน่วยปริม�ณนำ้�ที่ใช้

                     2) ในพื้นที่ซึ่งมีคว�มอุดมสมบูรณ์ตำ่�และปุ๋ยร�ค�แพง ควรบอกผลผลิตต่อหน่วยธ�ตุอ�ห�รที่ใส่
                     3) ในพื้นที่ซึ่งมีก�รกร่อนดินสูง ควรบอกผลผลิตต่อหน่วยมวลดินที่ถูกกร่อนไป เพื่อให้ตระหนัก

            ถึงภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นเมื่อดินเสื่อมโทรมจ�กก�รกร่อน
                     4) ในสถ�นก�รณ์ที่เกิดวิกฤติด้�นพลังง�น  ก�รบอกผลผลิตต่อหน่วยพลังง�นที่ใช้    จะช่วยให้
            คำ�นึงถึงก�รห�วิธีก�รประหยัดพลังง�น

                     สำ�หรับก�รกร่อนดิน    เป็นปร�กฏก�รณ์ของก�รเคลื่อนย้�ยตะกอนดินออกไปกับนำ้�บ่�ผิวดิน
            ดังนั้นตะกอนดินที่ออกไปจ�กระบบนิเวศเกษตรก็เป็นสิ่งออกอย่�งหนึ่ง  แต่เป็นสิ่งออกเชิงลบซึ่งมีวิธีก�ร

            วัดโดยเฉพ�ะ
                 10.2 เสถียรภ�พและคว�มยั่งยืนมีลักษณะพหุมิติ (multi-dimensional character of sta-
            bility and sustainability)

                      เนื่องจ�กก�รประเมินเสถียรภ�พและคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศเกษตรด้วยวิธีก�รที่ต่�งกัน
            จะให้ผลแตกต่�งกัน  ดังนั้นเสถียรภ�พและคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศเกษตรจึงมองได้หล�ยแบบ  หรือมี

            ลักษณะพหุมิติดังนี้
                      10.2.1  เสถียรภ�พ  (stability)  คือลักษณะคว�มแปรปรวนในผลิตภ�พของระบบในช่วง
            เวล�ที่กำ�หนด อันเป็นผลจ�กคว�มแปรปรวนของสมบัติบ�งประก�รในระบบนิเวศเกษตร เช่น สมบัติท�ง

            ก�ยภ�พและชีวภ�พ  (ปริม�ณก�รกระจ�ยของฝนและก�รเข้�ทำ�ล�ยของศัตรูพืชในบ�งช่วงเวล�)  หรือ
            สภ�พท�งเศรษฐกิจ (คว�มผันผวนของระดับร�ค�ปัจจัยก�รผลิต) ก�รประเมินเสถียรภ�พและคว�มยั่งยืน

            ของระบบนิเวศเกษตรวัดจ�กคว�มแปรปรวนของผลผลิตที่ได้      อันเป็นค่�เฉลี่ยของก�รผลิตระยะย�ว
            (ภ�พที่ 2.10) ซึ่งมี 4 แบบ คือ 1) มีเสถียรภ�พและยั่งยืน 2) มีเสถียรภ�พแต่ไม่ยั่งยืน 3) ไม่มีเสถียรภ�พ
            แต่ยั่งยืน และ  4) ไม่มีเสถียรภ�พและไม่ยั่งยืน



                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      57
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66