Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                 9.3 ส�รฆ่�ศัตรูพืช
                     ศัตรูพืช (pest) หม�ยถึงสิ่งมีชีวิต (สัตว์ พืช หรือจุลินทรีย์) ที่ทำ�ให้พืชปลูกเสียห�ย ก�รควบคุม

            ศัตรูพืชทำ�ได้หล�ยวิธี  เช่น  ใช้ส�รฆ่�ศัตรูพืช  (pesticide)  ใช้ตัวหำ้�หรือผู้ล่�เหยื่อ  (predators)  และ
            ควบคุมด้วยวิธีชีวภ�พอื่นๆ  หรือ  ก�รเขตกรรม  เช่น  ปลูกพืชที่ทนต่อโรคหรือแมลง  ลดก�รไถพรวนดิน
            และก�รปรับสภ�พดิน

                     ส�รฆ่�ศัตรูพืชมีสมบัติที่สำ�คัญ คือ กำ�จัดศัตรูพืชได้อย่�งชะงัดแต่ไม่ทำ�อันตร�ยต่อพืชปลูก ส�ร
            ดังกล่�วอ�จฆ่�ศัตรูพืช  หรือลดประช�กรโดยทำ�ให้เติบโตช้�หรือป้องกันก�รสืบพันธุ์  ส�รเคมีฆ่�ศัตรูพืช

            เป็นปัจจัยสำ�คัญของก�รทำ�ฟ�ร์มแบบเข้มข้นหรือแบบประณีต (intensive farming) บ�งแห่งใช้ส�รเคมี
            เหล่�นี้เกือบ 10 ชนิด เพื่อควบคุมโรค แมลงและวัชพืช เมื่อมีก�รใช้กันอย่�งแพร่หล�ยและต่อเนื่อง จะ
            เกิดปัญห� 2 ประก�ร คือ คว�มคงทน (persistence) และก�รสะสมเชิงชีวภ�พ (bioaccumulation)

                     คว�มคงทนของส�รฆ่�ศัตรูพืช    หม�ยถึงคว�มย�วน�นที่ส�รนั้นยังส�ม�รถออกฤทธิ์ได้ใน
            สิ่งแวดล้อม ส�รประกอบบ�งชนิดสล�ยเชิงชีวภ�พได้ เนื่องจ�กถูกจุลินทรีย์ย่อยง่�ยและเร็ว แต่บ�งชนิด

            เป็นส�รประกอบที่ไม่สล�ยเชิงชีวภ�พซึ่งถือว่�เป็นส�รที่คงทนและออกฤทธิ์ในสิ่งแวดล้อมได้หล�ยปี  จึง
            ควรเลือกใช้ส�รฆ่�ศัตรูพืชที่ไม่คงทนและสล�ยเชิงชีวภ�พได้เร็ว
                     ก�รสะสมเชิงชีวภ�พของส�รฆ่�ศัตรูพืช  หม�ยถึงก�รเพิ่มคว�มเข้มข้นของส�รนั้นในโซ่อ�ห�ร

            โดยเริ่มจ�กก�รสะสมในผู้บริโภคที่บริโภคพืชซึ่งมีส�รดังกล่�ว  แล้วสะสมในผู้บริโภคลำ�ดับต่อม�เรื่อยๆ
            เช่น มีก�รสะสมเพิ่มขึ้นทีละน้อยของส�รฆ่�แมลงในร่�งก�ยมนุษย์ที่กินพืชซึ่งมีส�รฆ่�ศัตรูพืชตกค้�งอยู่

                 9.4 สภ�วะส�รอ�ห�รม�กเกิน (eutrophication)
                     สภ�วะส�รอ�ห�รม�กเกิน  เป็นอิทธิพลของก�รสะสมส�รอ�ห�รในระบบชลนิเวศ  (aquatic
            ecosystems) ซึ่งมีลำ�ดับของเหตุก�รณ์ 3 ขั้นตอน ดังนี้

                     1) นำ้�ในแหล่งนำ้�เป็นนำ้�ใสเนื่องจ�กมีส�รอ�ห�รและส�หร่�ยน้อย
                     2) กล�ยเป็นนำ้�ขุ่นหรือนำ้�สกปรก สีคลำ้� มีส�รอ�ห�รและพืชนำ้�ม�ก

                     3) ต่อม�กล�ยเป็นนำ้�เสียซึ่งมีส�รอ�ห�รสะสมม�กเกิน  หรือนำ้�ขุ่นและสีดำ�  มีพืชและเศษซ�ก
            อินทรีย์ม�ก ซึ่งเป็นขั้นตอนก�รเปลี่ยนแปลงของระบบชลนิเวศจ�กนำ้�ดีม�เป็นนำ้�เสีย อันเกิดจ�กสภ�วะ
            ส�รอ�ห�รม�กเกิน

                     ห�กพิจ�รณ�ในบริบทของมลพิษ สภ�วะส�รอ�ห�รม�กเกิน หม�ยถึงก�รเพิ่มส�รอ�ห�รอย่�ง
            ม�กม�ยในระบบชลนิเวศ  โดยกิจกรรมของมนุษย์ในเวล�อันสั้น  ซึ่งมีผลกระทบอย่�งรุนแรงหรือถึงขั้น

            ทำ�ล�ยโซ่อ�ห�รในระบบดังกล่�ว ส�รที่สำ�คัญซึ่งเป็นส�เหตุมี 2 อย่�ง คือ
                     1) นำ้�เสียจ�กชุมชนเมืองและอุตส�หกรรม  ซึ่งมีทั้งธ�ตุอ�ห�รที่ละล�ยได้  (เช่น  ส�รประกอบ
            ฟอสเฟตจ�กผงซักฟอกและส�รอื่นๆ) รวมทั้งส�รอินทรีย์ปริม�ณม�ก ถือเป็นแหล่งหลัก

                     2) ธ�ตุอ�ห�รที่ละล�ยนำ้�ได้ในรูปไนเทรตและฟอสเฟต   ซึ่งถูกชะละล�ยม�จ�กพื้นที่ลุ่มนำ้�




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      53
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62