Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
จัดเป็นแหล่งเสริมสำ�หรับนำ้�ที่ผ่�นพื้นที่ก�รเกษตรนั้นมีไนเทรตและฟอสเฟตตำ่� เนื่องจ�กคว�มเข้มข้น
ของไอออนทั้งสองในส�รละล�ยดินตำ่�ม�ก
สำ�หรับผู้ผลิตหรือพืชนำ้�ในระบบชลนิเวศดั้งเดิมเจริญเติบโตช้� เนื่องจ�กมีธ�ตุอ�ห�รที่เป็น
ประโยชน์อยู่น้อย เมื่อเพิ่มธ�ตุอ�ห�รที่ข�ดแคลนให้มีปริม�ณม�ก พืชนำ้�จึงเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่�ง
ทันทีทันใด โดยส�หร่�ยเจริญเติบโตเร็วกว่�พืชนำ้�อื่นๆ ผิวนำ้�จึงมีสีเข้มเป็นลักษณะส�หร่�ยสะพรั่ง (algae
bloom) ขึ้นอย่�งชัดเจน (ภ�พที่ 2.9) เนื่องจ�กส�หร่�ยสังเคร�ะห์แสงและปลดปล่อยออกซิเจนออกม�
จึงยังมีออกซิเจนเพียงพอสำ�หรับก�รดำ�รงชีวิตของปล� ปร�กฏก�รณ์ดังกล่�วเกิดขึ้นต�มธรรมช�ติ จ�ก
ก�รเคลื่อนย้�ยของธ�ตุอ�ห�รจ�กพื้นที่ลุ่มนำ้�ต�มฤดูก�ล ม�หล่อเลี้ยงสิ่งมีชีวิตในระบบชลนิเวศ และ
สภ�พดังกล่�วส�ม�รถฟื้นตัวกลับม�ดังเดิมได้ใหม่
ปุ๋ยที่ถูกชะละล�ย นำ้�เสียจ�กชุมชนและโรงง�นอุตส�หกรรม
ไนเทรต ฟอสเฟต ส�รอินทรีย์
สภ�วะส�รอ�ห�รม�กเกิน
ส�หร่�ยสะพรั่ง
บังแสง พืชนำ้�ได้แสงน้อย สัตว์นำ้�กินส�หร่�ยไม่ทัน
พืชนำ้�ต่�งๆ ต�ย ส�หร่�ยแน่นม�กจึงเริ่มต�ย
สะสมส�รอินทรีย์ที่เน่�
เพิ่มประช�กรจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน
ใช้ออกซิเจนในนำ้�หมด (BOD สูงขึ้น)
สัตว์นำ้�ต�ยและเน่�เปื่อย จุลินทรีย์ไม่ใช้ออกซิเจนปล่อย CH , H S
4 2
ภ�พที่ 2.9 ลำ�ดับเหตุก�รณ์ของสภ�วะส�รอ�ห�รม�กเกินในชลนิเวศ
54 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย